Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 1
การรักษา
-
2.ดูแลให้ได้รับO2อย่างเพียงพอ โดยคุมค่าarterial blood gas ให้>60 mmHg และ O2 saturation > 95%ในรายที่อาการรุนแรงอาจต้องใส่เครื่องช่วยหายใจและให้ corticosteroid
3.ดูแลให้ยาขยายหลอดลมที่ปลอดภัยสูงคือ terbutaline ระยะคลอดควรให้ oxytocin เสริม และ isoproterenol ควรใช้ช่วงสั้นๆเนื่องจากอาจส่งผลต่อทารก
-
5.ในระยะคลอดควรให้ยาระงับปวดชนิด non-histamine releasing nacrotic เช่น fentanyl ไม่แนะนำmorphine และในรายที่จำเป็นต้องให้ยาระงับความรู้สึก ควรใช้ epidural แทน general anesthesia เพราะจะกระตุ้นหลอดลมให้เกร็ง
การพยาบาล
-
-
2 แนะนำในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง แนะนำให้อยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเท ไปรับการรักษาโรคหอบหืดและการตรวจครรภ์อย่างต่อเนื่อง
-
-
สาเหตุ
ตามทฤษฎี
การหลั่ง histamine ทำให้มีการหดเกร็งของหลอดลมเยื่อบุหลอดลมบวมมีเสมหะมากขึ้นทำให้เกิดอาการหายใจลำบากอาจเกิดจาก ปัจจัยภายนอกร่างกาย เช่นการแพ้เกสรดอกไม้ ปัจจัยภายในร่างกาย เช่นพันธุกรรม การติดเชื้อทางเดินหายใจการใช้ยาบางรวมทั้งความเครียดความกลัวความโกรธทำให้มีการหายใจเร็วตื้นเกิดการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์กระตุ้นพาราซิมพาเทติคทำให้หลอดลมมีการหดเกร็งได้
ตามกรณีศึกษา
อาจมาจากปัจจัยภายในจากพันธุกรรมซึ่งจากการซักประวัติการเจ็บป่วยพบว่าไม่มีการแพ้ยาหรือแพ้สิ่งต่างๆ และเป็นมาแต่ตอนเป็นเด็กโดยที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
-
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
หายใจลำบากมีเสียง wheezing อาจมีการใช้กล้ามเนื้อส่วนอื่นช่วยในการหายใจ กล้ามเนื้อที่ไหล่ คอบ่งชี้ว่ามีการอุดกั้นของทางเดินหายใจอย่างรุนแรง
มีอาการไอหายใจเร็วชีพจรเร็ว เหงื่อออกมากเเละอ่อนเพลีย
ตามกรณีศึกษา
ปวดหน่วงที่บริเวณท้องน้อย มีการปัสสาวะกระปริบกระปรอยปัสสาวะแสบขัดตอนถ่ายสุดแต่ปัสสาวะไม่มีเลือดปน ไม่มีไข้
ผลต่อมารดาเเละทารก
-
ผลต่อทารก
การคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักแรกเกิดน้อยเสียชีวิตในครรภ์ หากทารกที่เกิดจะมารดาที่เป็นโรคอาจเป็นโรคหอบหืดได้