Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก (Dysfunctional Uterine Bleeding: DUB) -…
ภาวะเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก
(Dysfunctional Uterine Bleeding: DUB)
สาเหตุ
แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม(PALM-COEIN)
P :ติ่งเนื้อที่ยื่นออกมา
A:ปวดประจําเดือนกับประจําเดือนมามาก
L :เนื้องอกมดลูกที่ไม่ค่อยมีอาการ
M :พบน้อยแต่สําคัญ
C:การเเข็งตัวของเลือดผิดปกติพบHMB
O:พบเริ่มและใกล้หมดประจำเดือน มีอาการประจำเดือนขาด มาน้อยไม่สม่ำเสมอ มามากจนซีด
E:วินิจฉัยเมื่อไม่สงสัยภาวะอื่นโดยจะคํานึงถึงผู้ที่มีประจําเดือนมามาก (HMB)
I:เกิดจากการใช้ยา,ทําหัตถการ
N:ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
อุบัติการณ์
วัยรุ่น
วัยก่อนหมดประจําเดือน
ลักษณะเลือดออกผิดปกติ
Oligomenorrhea: ระยะห่างของรอบเดือนมากกว่า 35 วัน
Polymenorrhea: ระยะห่างของรอบเดือนน้อยกว่า 24 วัน
Menorrhagia: รอบเดือนสมํ่าเสมอ แต่ปริมาณมากหรือนานกว่าปกติ
Metrorrhagia: รอบเดือนไม่สม่ำเสมอ มีปริมาณมาก หรือนานกว่าปกติ
ไม่มีโรคหรือพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกรานหรือภายในมดลูก (Dysfunctional uterine bleeding) สาเหตุ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
การตกไข่ (ovulatory DUB) :อายุระหว่าง 30-40 ปีและรอบเดือนสมํ่าเสมอและมี อาการที่สัมพันธ์กับการมีประจําเดือน เช่น คัดตึงเต้านม ปวดประจําเดือน
ไม่มีการตกไข่ (Anovulatory DUB) : พบในคนปกติ โดยเฉพาะในช่วงวัยเริ่มเจริญพันธ์ุ และใกล้วัยหมดประจําเดือน และในช่วงหลังคลอด ให้นมบุตร หลังแท้งบุตรและหลังการหยุดยาฮอร์โมนคุมกําเนิด
อาการของภาวะ Anovulatory DUB
Metrorrhagia: มีรอบเดือนท่ีไม่สม่ําเสมอ มีปริมาณมาก หรือนานกว่าปกติ
Menometrorrhagia: ภาวะท่ีมีประจําเดือนผิดปกติไม่เป็น Cycle
Amenorrhea followed by bleeding: ภาวะที่มีประจําเดือนหลังจากขาดไป 2-6 เดือน
การวินิจฉัยแยกโรค
การต้ังครรภ์นอกมดลูก ภาวะแท้
ได้รับยาฮอร์โมนต่างๆ และได้รับยาละลายลิ่มเลือด
เนื้องอกชนิดต่างๆ ของอวัยวะสืบพันธุ์
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
โรค เช่น ภาวะไตวาย ตับวาย
การใช้ยาชนิดต่างๆ เช่น Glucocorticoid, Tamoxifen, ยาสมุนไพร
การรักษา
การรักษาด้วยฮอร์โมน Estrogen
:ผลข้างเคียงของ estrogen คือ อาการคลื่นไส้อาเจียน เจ็บคัดเต้านม และเส้นเลือดอุดตัน
conjugated estrogen 25 mg เข้าทางหลอดเลือดดํา ทุก 2-4 ชั่วโมง จนกว่าเลือดจะออก น้อยลง จะเห็นผลภายใน 24 ชั่วโมง (ไม่มียาฉีดให้รับประทาน 10 mg 4 ครั้ง/วัน)
Medroxy progesterone 10 mg ใน 10 วันแรกของรอบเดือน
การรักษาด้วยฮอร์โมน Progestogen
(รอบเดือนมาสม่ำเสมอและป้องกันไม่ให้เกิดเย่ือบุโพรงมดลูกหนาตัว)
Norethingrone acetate รับประทาน วันละ 2.5 - 10 mg เดือนละ 5 – 10 วัน
ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิด progestogen ในผู้ที่มี androgen สูง เช่น สิว ผิวมัน และ ขนดก
ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดรวม
:มีรอบเดือนมาสม่ําเสมอและป้องกันไม่ให้เกิดเยื่อบุโพรงมดลูกหนาตัว
(
ห้ามใช้ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดรวม เช่น ผู้สูบบุหรี่ ความเสี่ยง thromboembolism
)
ยาช่วยลดปริมาณประจําเดือน
Tranexmic acid (anti-fibrinolytic activity) รับประทาน 1 สูงสุดไม่เกิน 600 mg/dose
ห่วงอนามัยท่ีเคลือบโปรเจสติน เช่น levonorgestrel (LNg)
NSAIDs ได้แก่ mefenamate, ibuprofen และ naproxen
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การขูดมดลูก การจี้ทําลายเยื่อบุโพรงมดลูก การตัดมดลูก
การซักประวัติ
ระยะห่างของรอบเดือน ปริมาณ จํานวนวันท่ีมีรอบเดือน อาการก่อนมีรอบเดือน จุดเร่ิมต้นที่มีรอบเดือนผิดปกติ โรคประจําตัว และการใช้ยาต่างๆ
การตรวจ
การตรวจร่างกาย
การไม่ตกไข่ เช่น ขนดก สิว ผิวมัน น้ํานมไหลผิดปกติ ,ตรวจดูขนาด/ลักษณะของมดลูก และโรคทาง ระบบอื่นๆ เช่น โรคของต่อมไทรอยด์ เป็น
การตรวจทางห้องปฏิบัติ
Pregnancy test เพื่อแยกสาเหตุที่เกิดจากความผิดปกติของการต้ังครรภ์ออกไป
CBC เพื่อประเมินภาวะซีด ปริมาณเกล็ดเลือด
Serum progesteroneบอกได้ว่ามีการตกไข่เกิดขึ้นในกรณีที่ระดับ > 3 mg/ml
(TSH) เพื่อตรวจความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
Liver and Renal function
การส่องกล้องตรวจภายในโพรงมดลูก (Hysteroscopy)
การพยาบาล
ป้องกันภาวะซีดและอันตรายจากภาวะซีด โดยประเมินความรุนแรงของการเสียเลือด
สังเกตปริมาณเลือดที่ออก
แนะนําให้ผู้ป่วยสังเกตอาการผิดปกติ เช่น เวียนศีรษะ หน้ามืด
ติดตาม Hct
แนะนําให้รับประทานอาหารธาตุเหล็ก ยาบํารุงเลือด และพักผ่อนให้เพียงพอ
2.ป้องกันการช็อค
บันทึกสัญญาณชีพ
ดูแลการให้สารน้ําและเลือดทดแทน
ปริมาณ น้ำเข้า - ออก
เหงื่ออออกตัวเย็นซีด
3.ป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์ที่ถูกวิธี
แนะนําการใช้ผ้าอนามัยท่ีถูกต้อง และงดการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีเลือดออกทางช่องคลอด
สังเกตลักษณะเลือดที่ออกจาก ช่องคลอด สีและกลิ่น
แนะนําอาหารท่ีมีโปรตีนสูง เช่น ถั่ว ไข่ขาว เนื้อปลา เพื่อเพิ่ม
ภูมิคุ้มกัน ดื่มนํ้ามากๆ
รับประทานยาปฏิชีวนะ ตามคําสั่งการรักษา
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัด
รักษาด้วยวิธีการขูดมดลูก และ ให้ฮอร์โมนไม่ได้ผล นิยมผ่าตัดมดลูก (Total abdominal hysterectomy: TAH) พยาบาลควรมีความรู้ในการเตรียมผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัดมดลูก
ประคับประคองด้านจิตใจ มีความกังวลเกี่ยวกับโรค ความรุนแรงแผนการรักษาและค่าใช้จ่ายต่างๆ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบาย ความคับ ข้องใจ รวมทั้งเปิดโอกาสให้สามี
สมาชิกในครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือ และร่วม แก้ไขปัญหา
ให้ข้อมูลเป็นจริงและถูกต้อง ให้กําลังใจ
แนะนําเทคนิคการผ่อนคลาย ฝึกสมาธิ หายใจเข้าออกลึกๆ
สมาชิก ลำดับที่ 46-55
61112181 นางสาวนูร์อาซีซะ มะรอเฮ็ม
61112405 นางสาวปาริชาต สีดำ
61112488 นางสาวปุษยา แหลมม่วง
61112710 นางสาวไพลิน บุญชัย
61112728 นางสาวฟารินดา หนิเล๊าะ
61112744 นางสาวฟิรเดาส์ ดิ้ง
61113197 นายวัชระกิตต์ ลาโฮยา
61113692 นางสาวสุชาดา เพ็งเรือง
61113718 นางสาวสุณัฏฐา สงสังข์
61113957 นางสาวอนงค์นาฏ แสงฤกษ์