Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตับอักเสบบีร่วมกับการตั้งครรภ์, hbv-free, dFQROr7oWzulq5FZXCF7kAPIQjgejTik…
ตับอักเสบบีร่วมกับการตั้งครรภ์
การติดเชื้อตับอักเสบบี
เกิดจากเชื้อ Hepatitis B virus
:!: :!: :!:
มีระยะฟักตัวนานประมาณ 50-180 วัน
จึงเป็นพาหะได้อย่างเรื้อรัง
วิธีการได้รับเชื้อ
เพศสัมพันธ์
สัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่ง อุจจาระ ปัสสาวะ
ใช้สิ่งของร่วมกัน
มีดโกน
เข็มฉีดยา
ทารกได้รับเชื้อจากการผ่านทางรก
:star: :star:
ทารกได้รับเชื้อขณะคลอด
อุบัติการณ์
พบได้ 1 -2 รายในสตรีตั้งครรภ์ 1000 ราย
อาการ :fire: :fire:
บางรายอาจไม่มีอาการ
บางรายมีอาการคล้ายไข้หวัด
ต่อมามีอาการตาและตัวเหลือง
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้อาเจียน
เบื่ออาหารรับประทานอาหารไม่ได้
ผลของการติดเชื้อตับอักเสบบีต่อสตรีตั้งครรภ์
มีไข้ ตาตัวเหลือง ตรวจพบตับม้ามโต
เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
แท้งบุตร :warning:
ผลของการติดเชื้อตับอักเสบบีต่อทารก
ติดเชื้อจากมารดาจากมีการแตกของเส้นเลือดจากรก
ตายในครรภ์หรือตายคลอดจากการติดเชื้อขณะคลอด
ติดเชิ้อหลังคลอด จากการให้นมแม่ หัวนม การเลี้ยงดู
:warning: :warning: :warning:
เป็นพาหะของโรคโดยไม่มีอาการ
เป็นตับอักเสบเฉียบพลันแรกคลอด
มักพบ HBsAg + ก่อนอายุ 2 เดือน
แนวทางการดูแลเพื่อป้องกันการถ่ายทอด HBV จากแม่สู่ลูก
หญิงตั้งครรภ์
ก่อนคลอด
ตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี
ให้ยาต้านไวรัส TDF
ระหว่างคลอด
หลีกเลี่ยงการคลอดโดบสูติศาสตร์หัตถการ
:!!: :!!:
หลังคลอด
ดูแลหลังหยุดยา TDF
การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง
ทารก
ก่อนคลอด
หัตถการควรหลี่ยงเลี่ยงเมื่อมารดาติดเชื้อ
ระหว่างคลอด
หลีกเลี่ยงการคลอดโดบสูติศาสตร์หัตถการ
:!!: :!!:
หลังคลอด
ให้ยา HBIG :star: :star:
การให้ HB vaccine
ตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการและอาการแสดง
เจาะเลือดตรวจหาHBsAg, HBeAg
ผล HBeAg เป็นบวกมีโอกาสติดเชื้อจากมารดาสูง
:star:
เจาะเลือดหา HBsAb, HBeAb
หากได้ผลบวก หมายถึง การมีภูมิคุ้มกันต่อตับอักเสบบี
การดูแลหญิงตั้งคครภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ก่อนคลอด
หญิงตั้งคครภ์ที่ตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีแล้ว HBeAg positive
อายุครรภ์ครบ 28-32 wks เริ่มให้ TDF 300 mg 1x1 po จนถึง 4 wks หลังคลอด
ตรวจหา Creatinin หลีงเริ่มยา 4 wks หากพบการทำงานไตผิดปกติควรปรึกษาแพทย์ปรับยา
ระหว่างคลอด
คลอดปกติ หรือ ผ่าคลอด
หลีกเลี่ยงการคลอดโดยสูติศาสตร์หัตการ
หลังคลอด
ให้ยา tenofovir 300 mg รับประทานวันละ 1 ครั้ง จนครบ 4 wks หลังคลอด
หลังคลอด 6-8 wks นัดตรวจ ALT
ส่งปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อติดตามรักษาอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมต่อไป