Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว (Peplau‘s Theory of Interpersonal…
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว (Peplau‘s Theory of Interpersonal Relations)
ประวัติและการพัฒนาทฤษฎี
ผู้ที่มีประสบการณ์ทั้งจากการเรียนและการสอนพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
ประสบการณ์ในการทำงานต่างๆ จนนำไปสู่ ความสนใจและพัฒนาทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลขึ้น
พัฒนาขึ้นโดยฮิลด์การ์ด เพบพลาว(Hildegard E. Peplau)
มโนมติหลักและความสัมพันธ์ของทฤษฎี
ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
การส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนบุคคลเพื่อให้มีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์ขึ้นนั้นเป็นบทบาทหน้าที่และการเรียนรู้ของการพยาบาล
ปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลสามารถเกิดขึ้นได้ซ้ำๆและหลากหลายความรุนแรง
ความแตกต่างของพยาบาลแต่ละคนส่งผลให้เกิดความแตกต่างอย่างมากในการที่ผู้ป่วยแต่ละคนจะได้เรียนรู้ระหว่างการได้รับการดูแลตลอดระยะเวลาที่เจ็บป่วย
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยเป็นสิ่งที่พยาบาลทุกสาขาควรคำนึงในกระบวนการดูแลจิตใจไม่เฉพาะแต่สาขาจิตเวชเท่านั้น
ความต้องการที่จะต้องควบคุมพลังงานที่มาจากความเครียดและความวิตกกังวลให้มีความหมายทางบวก
ทุกๆพฤติกรรมของมนุษย์ที่แสดงออกหรือกระทำ ล้วนแต่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความพึง พอใจและเกิดความรู้สึกที่มั่นคงปลอดภัย
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
การเข้าใจความหมายของพฤติกรรมของผู้ป่วยเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการที่พยาบาล
ระหว่างที่บุคคลเผชิญอยู่กับภาวะวิกฤติแต่ละบุคคลมักจะใช้วิธีการจัดการแบบที่เคยทำแล้วได้ผลในอดีต
แนวคิดที่สำคัญ (Major concepts)
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล(Interpersonal relationships)
เกิดขึ้น
ระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป
1.1 สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย (Nurse – Patient Relationship)
บุคคลที่จำเพาะเจาะจง
เกิดขึ้นระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
พยาบาลกับผู้ป่วยรู้จักคุ้นเคยกัน
ยอมรับนับถือความเป็นบุคคลและความแตกต่างของกันและกัน
ร่วมกันหาวิธีแก้ไขปัญหาได้
มีการพัฒนาเป็นระยะ
ประกอบไปด้วย
ระยะเริ่มต้น (Orientation phase)
-พยาบาลและผู้ป่วยพบหน้ากันในลักษณะของคนแปลกหน้า
-รู้จักกันในแต่ละบุคคล
-ความสม่ำเสมอและความชัดเจนที่พยาบาลมีให้
-ผู้ป่วยสามารถบอกปัญหากับพยาบาลเพื่อร่วมกันวางแผนแก้ปัญหาต่อ
ระยะดำเนินการ (Working phase)
มีระยะย่อยๆ 2 ระยะ
ระยะระบุปัญหา (Identification)
ผู้ป่วยรู้จักกับพยาบาลและเข้าใจจุดประสงค์
เริ่มที่จะระบุปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อดำเนินการแก้ไข
ปัญหาร่วมกัน
ระยะดำเนินการแก้ปัญา (Exploitation)
ผู้ป่วยดำเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว
ระยะสรุปผล (Resolution Phase)
ทั้งสองฝ่ายตกลงสิ้นสุดสัมพันธภาพร่วมกัน
แผนในการแก้ไขปัญหาทั้งหมดประสบผลสำเร็จ
สนับสนุนเพื่อแก้ไขปัญหาในอนาคต
1.2 สัมพันธภาพระหว่างบุคคลอื่นๆ (Other Relationships)
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
หลักสำคัญ 2 ข้อ
2.1 ความชัดเจน (Clarity)
-คำและประโยคที่ใช้ต้องมีความชัดเจน
2.2 ความต่อเนื่อง (Continuity)
-ความต่อเนื่องในการสื่อสารเกิดขึ้นได
-ภาษาเป็นเครื่องมือ
ในการส่งเสริมให้เกิดความสอดคล้องกัน
แบบแผนการมีปฏิสัมพันธ์(Pattern integration)
เกิดเมื่อแบบแผนของบุคคลหนึ่งใช้ใน
การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลหนึ่ง หรือบุคคลอื่นๆ
เป็นได้ทั้งแบบสัมพันธภาพแบบ
เติมเต็มซึ่งกันและกัน
แบบช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
แบบเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน
แบบถ่ายทอดจากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่ง และอื่นๆ
บทบาท (Roles)
4.1 บทบาทคนแปลกหน้า (Role of the Stranger)
4.2 บทบาทแหล่งสนับสนุน (Role of Resource Person)
4.3 บทบาทครู(Teaching Roles)
4.4 บทบาทผู้นำ (Role of Leadership)
4.5 บทบาทผู้ทดแทน (Surrogate Roles)
4.6 บทบาทผู้ให้คำปรึกษา (Counseling Role)
ความคิด (Thinking)
แนวคิดย่อย 2 แนวคิด
5.1 Preconceptions คือ ความคิดที่มีมาก่อนการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาล
5.2 Self – understanding คือ การเข้าใจตนเอง
การเรียนรู้(Learning)
วัตถุประสงค์ 3 ประการ
1) ให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้เพื่อนำไปอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ
2) เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนแปลง
3) เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา
สมรรถนะ (Competencies)
ทักษะที่ถูกพัฒนาขึ้น
ต้องการให้เกิดการพัฒนาในสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของพยาบาลและผู้ป่วย
ได้แก่
สติปัญญา
การแก้ไข
ปัญหา
ปฏิสัมพันธ์ของบุคคล
ความวิตกกังวล (Anxiety)
เป็นพลังงานที่ถูกกระตุ้นจากสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือ
เกิดขึ้นจากจินตนาการ
เกิดจากภายในหรือเกิดจากภายนอก
ระดับของความกังกล
ระดับต่ำ(anxiety+)
ระดับปานกลาง (anxiety++)
ระดับมาก (anxiety+++)
ระดับรุนแรง
Panic (anxiety++++)
มโนมติหลัก (Metaparadigm)
บุคคลบุคคลจะนำประสบการณ์ความเชื่อความคาดหวังและรูปแบบพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล
ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการหมายถึงผู้ที่เจ็บป่วยและผู้ที่มีสุขภาพดีรวมถึงกลุ่มบุคคลครอบครัวและสังคมที่พยาบาลให้การพยาบาลโดยตรง
พยาบาลเป็นการผสมผสานอย่างเป็นหนึ่งเดียวกันของอุดมคติความมีคุณค่าความมั่นคงและพันธสัญญาที่จะทำให้ผู้อื่นมีสุขภาวะที่ดี
สิ่งแวดล้อมปัจจัยทางด้านกายภาพจิตใจและสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลาและรวมไปถึงบริบทของสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
สุขภาพมีคุณภาพต่อการดำรงชีวิตในสังคมสุขภาพเป็นเป้าหมายแรกของการพยาบาล
การพยาบาล -เครื่องมือในการศึกษาหาความรู้ เป็นพลังอำนาจ
-การพัฒนาของทั้งพยาบาลและผู้ป่วย
-เป็นศิลปะที่ทำให้เกิดความเป็นไปได้ความเข้มแข็งความสามารถและการเปลี่ยนแปลง
การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้
1การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
1.การรวบรวมข้อมูล (Assessment)
1.1ระยะเริ่มต้น (Orientation phase)
พยาบาลและผู้ป่วยทำความรู้จัก
คนแปลกหน้าซึ่งกันและกัน
พยาบาลควรแนะนำตัว
เพิ่มความรู้สึกไว้วางใจ
บอกวัตถุประสงค์ในการให้การพยาบาล
ความวิตกกังวลของผู้ป่วยลดลงได้ด้วยท่าทีของพยาบาลที่เคารพนับถือ
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing
Diagnosis)และการวางแผนการ
พยาบาล (Nursing Plan)
2.1ระยะระบุปัญหา (Identification)
การมองปัญหา
การฟังและการถามฟังอย่างตั้งใจ
เข้าใจและเห็นใจมากว่าการแนะนำ ขัดแย้ง หรือสั่งสอน
3.การปฏิบัติตามแผนการพยาบาล
(Intervention)
3.1ระยะดำเนินการแก้ปัญา (Exploitation)
พยาบาลและผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการช่วยเหลือ
ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองเข้าใจปัญหา
ให้ข้อมูลและสนับสนุนให้กำลังใจ
4.การประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาล
(Evaluation)
4.1ระยะสรุปผล (Resolution Phase)
ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและสามารถแก้ไขปัญหาได้
ความต้องการในการช่วยเหลือลดลง
อาจเกิดความกังวลจากการพลัดพราก
เช่น ซึมเศร้า ก้าวร้าวทางคำพูดท่าทาง ช่วยเหลือตนเอง
น้อยลงหรือไม่ยอมช่วยเหลือตนเอง
พยาบาลควรให้ผู้ป่วยเตรียมตัวล่วงหน้าให้ทราบึงการยุติสัมพันธภาพตั้งแต่ระยะแรกและรับการเตือนเป็นระยะๆ
2การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
มีการนำไปใช้ที่หลากหลายไม่เพียงในบริบทของการพยาบาลเท่านั้น
มีการนำไปประยุกใช้ในกลุ่มอื่นด้วย
ตัวอย่างงานวิจัย เช่น
ผลของโปรแกรมสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของเด็กหญิงที่ถูกกระทำรุนแรง
ในสถานแรกรับเด็กหญิง เขตภาคกลาง