Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ โดยการมีเพศสัมพันธ์กันอย่างสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิดเป็นเวลา 1 ปี
หรือระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่ฝ่ายหญิงอายุ 35 ปีขึ้นไป
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ (Primary Infertility)
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์หลังจากพยายามแล้วนาน ระยะเวลากว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติภูมิ (Secondary Infertility)
การมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการทำแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เวลานานกว่า 12เดือน
สาเหตุจากฝ่ายหญิง (Female Infertility)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ 40
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
Other พบร้อยละ 5
สาเหตุจากฝ่ายชาย (Male Infertility)
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80
Sexual factoes พบร้อยละ 10
Other พบร้อยละ 10
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
ฝ่ายหญิงอายุ 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรสูง
ฝ่ายชายอายุ > 55 ปี ขึ้นไป จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดีและแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน มีชีวิตอยู่ในท่อนำไข่ของฝ่ายหญิงได้ประมาณ 2 วัน
ดังนั้นความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน
การผ่าตัด / การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
การคุมกำเนิด
ลักษณะนิสัยบางประการ / รูปแบบการดำเนินชีวิต / นิสัยส่วนตัว
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การตวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก เป็นต้น
การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus , Pituitary , Thyroid)
ตรวจเฉพาะระบบสืบพันธ์ุสตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear,Culture
ตัวมดลูก ได้แก่ PV , Hysterosalpingogram , Endometrium biopsy , Hysteroscopy , U/S
คอมดลูก ได้แก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจคอมดลูก
ท่อนำไข่ ได้แก่ CO2 insufflation หรือ Rubin test , Hysterosalpingogram , Laparoscope
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ PCT (Postcoital test)
เต้านม
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือดทั่วๆไป
การตรวจฮอร์โมน ฯ
การประเมินท่อนำไข่ มดลูกมด และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุ
ภาวะมีบุตรยากร้อยละ 30-50 ซึ่งส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram (HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจในโพรงมดลูก
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมน โปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล ( midluteal serum progesterone level ) เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนมา
˃ 5 μ/dl = มีการตกไข
˃10μ/d l= มีการตกไข่คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function teste นั้น
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่น โรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ฯ การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ฯ
รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับการผ่าตัด การได้รับการกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจทั่วไปและการตรวจระบบสืบพันธ์
ตรวจหนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ (Varicocele) Hydrocele
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือดทั่วๆไป
การตรวจฮอร์โมนร่างกาย
การตรวจน้ำอสุจิ
ปริมาตร(volume) ≥2 มิลลิลิตร
ความหนาแน่นของตัว อสุจิ ≥ 20 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด ≥ 40 ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ≥ ร้อยละ 50 มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
รูปร่างลักษณะ ≥ ร้อยละ 14 มีรูปร่างลักษณะปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว < 1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) = 7.2 หรือมากกว่า
การมีชีวิต (vitality) ≥ ร้อยละ75
การตรวจอสุจิ
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมไว้เท่านั้น
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอก หรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ ( Unexplaed infertility)
คือคู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบตามมาตรฐานแล้ว
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional)
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์ (Timing intercourse)
การกระตุ้นไข่ (Ovulation induction)
การผสมเทียม
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemination (IUI)
Artificial insemination คือการนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมา แล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
3D animation of how IUI works
วิธีการนี้ไม่เหมาะกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกลุกเจริญผิดที่ หรือปีญหาอื่นๆ ที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร
(assisted reproductive technologies: ART)
การกระตุ้นการตกไข่โดยการให้GnRHเป็นระยะ (ตามการหลั่งของGnRHที่เป็นระยะ)กระตุ้นการผลิตFSH และLHหรือให้ยาซึ่งเป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ไปกีดกัน การทางานของอีสโทรเจนไม่ให้ไปยับยั้งการทางาน ของ GnRH ทาให้มีการผลิต FSH และ LH ออกมา จำนวนมากมีผลให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบหลังจาก นั้นจะนำไข่ออกมาเลือกใบที่แข็งแรงและนำมาใช้ตาม การปฏิสนธินอกร่างกาย ด้วยวิธีต่างๆ เช่น
การใช้เทคโนโลยีช่วยในการเจริญพันธ์ุ
การทำ Gift ( Gamete Intrafallopian Transfer )
ZIFT ( Zygote Intrafallopian Transfer )
IVF ( In Vitro Fertilization )
Micromanipulation
ICSI ( Intracytoplasmic Sperm Injection)
เหมาะสำหรับผู้มีสเปิร์มน้อยมากๆ