Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีตั้งครรภ์, rheumatic-heart-disease-and…
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีตั้งครรภ์
ความสำคัญและอุบัติการณ์
เป็นสาเหตุการตายของมารดาบ่อยที่สุด
พบบ่อยประมาณร้อยละ 1-2 ของสตรีตั้งครรภ์
ส่วนใหญเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค (90 % เป็นชนิดmitral stenosis ; MS)
:star: :star:
Heart rate
Heart rate จะเพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์ประมาณ 10-20 bpm
CO เพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อหัวใจต้องใช้ออกซิเจนปริมาณเพิ่มขึ้น
มารดาที่เป็นโรคหัวใจจึงควรงดเว้นการทำงานหนัก
Stroke volume
เพิ่มขึ้นมากที่สุดคือประมาณร้อยละ 30 ในระยะไตรมาส 2
ทำให้ end diastolic volume เพิ่มขึ้น
แรงต้านทานในเส้นเลือดทั่วไปลดลง ต่ำสุดในไตรมาส 2
เลือดแข็งตัวมากกว่าปกติ (hypercoagulability)
ร่างกายสร้าง fibrinogen เพิ่มขึ้น 3 เท่าของการตั้งครรภ์
เป็นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
มีความเสี่ยงต่อการเกิด arterial thrombosis และ arterial thrombosis
การใช้ออกซิเจน
เพิ่มขึ้น 15% เมื่ออายุครรภ์ 16-40 wks
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆตลอดการตั้งครรภ์ เพราะมารดาและทารกในครรภ์
ต้องการใช้พลังงานมากขึ้น
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
การวินิจฉัยยากขึ้น
อาการและอาการแสดงคล้ายโรคหัวใจ
รู้สึกเหนื่อง่าย
ฟังได้ murmur จากการตั้งครรภ์
โรคหัวใจรุนแรงขึ้นขณะตั้งครรภ์
ไข้รูห์มาติคมีแนวโน้มกลับเป็นซ้ำบ่อยขึ้น
โรคลิ้นหัวใจมีโอกาสเกิด bacterial endocarditis ขณะคลอด
การตั้งครรภ์ทำให้เกิด cardiomyopathy ในระยะหลังคลอดได้
ผลต่อมารดา
มารดามีโอกาสเสียชีวิตได้สูงถึง ร้อยละ 25-50 ในกรณีของ rheumatic heart disease
มารดาอายุยังน้อยมีโอกาสเกิด recurrent rheumatic fever ได้ขณะตั้งครรภ์
กรณีของ valvular heart disease มีโอกาสเกิด bacterial endocarditis ได้ขณะคลอด
ผลต่อทารก
มีโอกาสทำให้เกิดการแท้ง
การคลอดก่อนกำหนด
เพิ่มอัตราภาวะโตช้าในครรภ์
ทารกตายปริกำเนิดได้
มีโอกาสที่จะเป็น congenital heart disease สูงกว่าปกติ
Dx. Heart Disease in Preg.
อาการหายใจลำบากรุนแรง
อาการนอนราบไม่ได้
ไอเป็นเลือด
เป็นลมเมื่อออกแรง เหนื่อยง่ายมาก
เจ็บอกที่สัมพันธ์กับการพยายามออกแรงหรืออารมณ์
Clubbing of fingers,cyanosis
Persistent neck vein distention
Systolic murmur grade3/6 or greater
Diastolic murmur
Cardiomegaly
Persistent arrhythmia
Criteria for pulmonary hypertension
ความรุนแรงของโรคหัวใจขณะตั้งครรภ์
Class I
Uncompromised
ไม่แสดงอาการ
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
ไม่ถูกจำกัดกิจกรรม
ระวัง heart failure หรือการดำเนินโรคที่เพิ่มขึ้น
ให้คลอดทางช่องคลอด
เจ็บครรภ์คลอดในระยะที่ 2 ควรช่วยคลอดด้วยforceps, vacuum
:star: :star:
Class II
Slightly compromised
มีอาการเล็กน้อย อยู่เฉยๆรู้สึกสบายดี
การทำงานปกติทำให้เหนื่อย ใจสั่น
หายใจลำบาก มีอาการเจ็บหน้าอก
ระวัง heart failure หรือการดำเนินโรคที่เพิ่มขึ้น
ให้คลอดทางช่องคลอด
เจ็บครรภ์คลอดในระยะที่ 2 ควรช่วยคลอดด้วยforceps, vacuum
:star: :star:
Class III
Markedly compromised
ต้องจำกัดกิจกรรม
:star: :star:
ทำงานเพียงเล็กน้อยรู้สุกเหนื่อย ใจสั่น
หายใจลำบาก มีอาการเจ็บหน้าอก
แนะนำ Therapeutic abortionในไตรมาสเเรกหากไม่ต้องการบุตร
หากต้องการบุตรต้องนอน รพ ตลอดตั้งครรภ์
ให้คลอดทางช่องคลอด
:star: :star:
Class IV
Severely compromised
ไม่สามารถทำงานใดๆได้ อยู่เฉยๆก็เหนื่อย
รักษาตามแนวทางของโรคหัวใจ
ห้ามตั้งครรภ์
:warning: :warning:
การประเมินความรุนแรงของโรคหัวใจ
ประเมินครั้งแรกอายุครรภ์ 12-14 wks.
ประเมินอีกครั้งเมื่ออายุครรภ์ 28-32 wks. เพราะเป็นช่วง CO สูงที่สุด
สตรีที่เป็นโรคหัวใจจะรุนแรงเพิ่มขึ้นอีก class
โรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ class I และ class II สามารถตั้งครรภ์จนครบกำหนดได้
โรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ class III ต้องนอนพักตลอดระยะการตั้งครรภ์
โรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ class IV ไม่ควรตั้งครรภ์