Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ - Coggle Diagram
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
การบริหารงานบุคคล
การบริหารบุคลากรทางการพยาบาล หมายถึง กระบวนการบริหารงานบุคคลที่เกี่ยวกับบุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับในองค์กร เริ่มตั้งแต่การสรรหาและรับเข้าท างาน การบำรุงรักษา การพัฒนา การประเมินผล จนกระทั่งพ้นออกจากงาน
ความสำคัญของการบริหารงานบุคคล
เพื่อสรรหาและเลือกสรร (recruitment and selection)
เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization) ของบุคคลอย่างเต็มกำลัง
เพื่อรักษาไว้ (maintenance) ซึ่งบุคคล
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี (relationships)
เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง (development)
หลักการบริหารงานบุคคล
ระบบคุณธรรม (Merit System)
หลักความเสมอภาค (equality of opportunity)
หลักความสามารถ (Competency)
หลักความมั่นคง (Security of tenure)
หลักการเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality)
ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System)
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
การสรรหาและการคัดเลือก
ขั้นตอนการสรรหา
กำหนดนโยบายการสรรหา (Recruiting Policies)
กำหนดแหล่งสรรหาบุคลากร (Source of recruitment)
หลักการคัดเลือกบุคลากร
หลักความเท่าเทียมกัน (Equity) ใช้หลักคุณธรรม
ระบบการคัดเลือกที่มีประสิทธิภาพ (Effective selection)
การพัฒนาบุคลากร
การฝึกอบรมทางด้านความรู้ (Knowledge Skill)
การฝึกอบรมทางด้านเทคนิค (Technical Skill)
การฝึกอบรมทางด้านมนุษยสัมพันธ์(Human Skill)
การฝึกอบรมทางด้านความคิด (Conceptual Skill)
การบำรุงรักษาบุคลากร
การธำรงรักษาบุคลากรการพยาบาล
การเสริมแรงจูงใจในทางบวก (positive reinforcement) การให้รางวัล คำชมเชย โล่
การเสริมแรงจูงใจในทางลบ (negative reinforcement) ไม่เพิ่มเงินเดือนหากพยาบาลไม่สามาถทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
การระงับพฤติกรรม (extinction)
การลงโทษ (Punishment) การตัดเงินเดือน โยกย้าย และให้ออกจากงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการให้คะแนนตามมาตราส่วน (Graphic Rating Scales)
การประเมินตามค่าคะแนน (Point Rating Scales)
การประเมินผลที่เน้นผลการปฏิบัติงาน
Self-Appraisal การประเมินตนเอง
Management by objective การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์
Psychological Appraisal/Competency Appraisal การประเมินผลเชิงจิตวิทยา
Assessment Centers ศูนย์ประเมิน
การบริหารพัสดุ
วัตถุประสงค์การบริหารพัสดุ
เพื่อควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
เพื่อจัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้อยู่ตลอดเวลา
เพื่อประหยัดงบประมาณหรือเงินบ ารุงในการจัดซื้อพัสดุ
ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกันทุจริต
ประเภทของพัสดุ
พัสดุประเภทสำนักงาน
พัสดุทางการแพทย์
พัสดุวิทยาศาสตร์
พัสดุยานพาหนะ
พัสดุงานบ้าน
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
วางแผน / กำหนดโครงการ
กำหนดความต้องการ
จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง
การแจกจ่าย
การบำรุงรักษา
การจำหน่าย
หลักการบำรุงรักษาพัสดุ
จัดทำสมุดทะเบียน
การควบคุมดูแล การเบิกจ่าย
จัดทำคู่มือบำรุงรักษา
รายงานการส่งซ่อมอุปกรณ์
การบริหารงบประมาณ (Budget)
ความสำคัญและประโยชน์ของงบประมาณ
๑) ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน
๒) ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน่วยงาน
๓) เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดให้มีประสิทธิภาพ
๔) เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม
๕) เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน
การวางแผนงบประมาณเริ่มจากการก าหนดแผนกลยุทธ์ของ
หน่วยงาน นำแผนกลยุทธ์มาจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง ๓ ปี เป็นการคาดคะเนวงเงินที่จะใช้เป็นรายปี
การก าหนดผลผลิตและการค านวณต้นทุน โดยหน่วยงานต้องระบุ
กิจกรรมและผลผลิตที่เกิดจากกิจกรรม โดยนำข้อมูลต้นทุนช่วยตัดสินใจเรื่องคุ้มค่ากับต้นทุน
การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
การบริหารทางการเงินและ การควบคุมงบประมาณ
การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน
การบริหารสินทรัพย์
การตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive)
การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ (Reactive)
การขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ
(Implementing Change)
การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง
(Evaluating and Maintaining Change)
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงในองค์การ
เทคโนโลยี (Technology)
ระเบียบสังคม (Social Order)
อุดมการณ์ (Ideology)