Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การรักษาคุณค่าสารอาหาร - Coggle Diagram
บทที่4
การรักษาคุณค่าสารอาหาร
การเก็บรักษาอาหาร
เนื้อสัตว์
เก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศา
เนื้อสัตว์และผัก ผลไม้
เก็บไว้ที่อุณหภูมิสูงกว่า 0 องศาเล็กน้อย
ไข่ นม เนย กล้วยดิบ มะเขือยาว หัวหอมใหญ่ มันเทศ ฟักทอง มะเขือเทศดิบ
อุณหภูมิเย็นปานกลาง (10-20องศา)
กล้วยสุก ผักที่ใช้ทำอาหารประจำวัน
อุณหภูมิห้อง
การเคลือบผิวด้วยพาราฟิน
สภาพการเก็บรักษา
แยกจากสารเคมีอันตราย อุณหภูมิที่เหมาะสม บริเวณที่เก็บรักษาสะอาด
สภาพภาชนะที่บรรจุ
สภาพสมบูรณ์ ไม่ฉีกขาด รั่วซึม บวบ บุบ บู้บี้
การแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร
หลักการ
รักษาความสะอาด
ยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์
ใช้ความร้อน
ระดับพลาสเจอร์ไรส์ (Pasteurization) 60-85องศา 15-20นาที ทำลายจุลินทรีย์ก่อโรค
ระดับสเตอริไลด์ (Sterilization) 100-130 องศา 15วินาที ทำลายจุลินทรีย์ สปอร์ทั้งหมด
ใช้ความเย็น
แช่เย็น Chilling
แช่เยือกแข็ง Freezing
ทำให้แห้ง
หมักดอง
ใช้สารเคมี
ควันที่ได้จากการรมควันอาหาร
แอลกอฮอล์
สารกันเสีย
น้ำตาล เกลือ น้ำส้มสายชู
ใช้รังสี
ชนิดแตกตัวได้ (Lonizing Radiation) มีช่วงคลื่นสั้น
ยับยั้งการเจริญเติบโตของไข่ ตัวอ่อนแมลง
ป้องกันการงอกของผัก ผลไม้ และคงคุณค่าโภชนาการ
ความสำคัญ
ยืดอายุอาหาร
เกิดอาหารชนิดใหม่
ช่วยให้เกิดอาชีพ
เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
ลดปัญหาผลผลิตล้นตลาด
บรรเทาความขาดแคลน
เกิดการกระจายอาหาร
มีอาหารบริโภคนอกฤดูกาล
ใช้อาหารเหลือให้เกิดประโยชน์
เกิดความสะดวก
ฉลากอาหาร
นิยาม
รูป รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือข้อความใดๆที่แสดงไว้ที่อาหาร ภาชนะที่บรรจุ หรือหีบห่อของภาชนะที่บรรจุอาหาร
สื่อถึง
ความปลอดภัย
ความคุ้มค่า
การโฆษณา
ความเชื่อมั่น
ข้อมูลที่ต้องมี
ชื่ออาหาร
ยี่ห้ออาหาร
ชื่อผู้ผลิต/ผู้จำหน่าย
ผู้นำเข้าพร้อมที่อยู่ติดต่อได้
ส่วนประกอบ
วันผลิต หมดอายุ
เลข อย.
คำเตือน
ฉลากโภชนาการ
กรอบข้อมูลโภชนาการ ที่ระบุชนิดและปริมาณสารอาหารที่ได้ในหนึ่งหน่วยบริโภค
องค์ประกอบ
กรอบแสดงข้อมูลโภชนาการ
ข้อความกล่าวอ้างทางโภชนาการ
ประโยชน์
เลือกซื้อและบริโภคอาหารให้เหมาะสมกับโภชนาการ
เปรียบเทียบเพื่อเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากกว่า
แบบเต็ม
ส่วนที่1 ปริมาณที่แนะนำให้ทางแต่ละครั้ง
ส่วนที่2 คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภคและร้อยละปริมาณที่แนะนำต่อวัน
ส่วนที่3 ปริมาณสารอาหารที่แนะนำให้คนไทยได้รับใน1วัน
แบบย่อ
ส่วนที่1 ปริมาณที่แนะนำให้ทางแต่ละครั้ง
ส่วนที่2 คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภคและร้อยละปริมาณที่แนะนำต่อวัน
การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร
สังเกตุสภาพการเก็บรักษา
สังเกตุสภาพภาชนะบรรจุ/บรรจุภัณฑ์
สังเกตุลักษณะอาหาร
อ่านฉลาก
ลักษณะอาหาร
สีปกติหรือไม่
มีฟอง เมือกหรือไม่
มีร่องรอยการเสียจากจุลินทรีย์หรือไม่
มาตรฐานคุณภาพอาหาร
ด้านสุขาภิบาลอาหาร (Clean Food Good Taste)
5ส
สะสาง
สะดวก
สะอาด
สุขลักษณะ
สร้างนิสัย
ระบบคุณภาพ (Quality System)หรือ ระบบประกันคุณภาพ (Quality assurance system)
GMP (Good Manufacturing Practice)
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร
ข้อกำหนดสุขลักษณะทั่วไป
สถานที่ตั้ง อาคารผลิต
เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การผลิต
การควบคุมการผลิต
การสุขาภิบาล
การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด
บุคลากรและสุขลักษณะ
GMPน้ำบริโภค
สถานที่ตั้ง อาคารผลิต
เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
แหล่งน้ำ
การปรับคุณภาพน้ำ
ภาชนะบรรจุ
สารทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ
การบรรจุ
การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน
การสุขาภิบาล
บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
บันทึกและรายงาน
ระบบวิเคราะห์อันตรายและควบคุมจุดวิกฤต (HACCP) Hazard Analysis and Critical conrtol Point
หลักการ
1.ดำเนินการวิเคราะห์อันตราย
2.หาจุดวิกฤตที่ต้องการควบคุม
3.กำหนดค่าวิกฤต
4.กำหนดระบบเพื่อเฝ้าระวังจุดวิกฤต
5.กำหนดวิธีแก้ไข
6.ทบทวนประสิทธิภาพ ของระบบ HACCP
7.จัดทำระบบบันทึก และเก็บรักษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต
ISO ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหาร
ระบบการจัดการคุณภาพ
ความรับผิดชอบด้านการผลิต/บริการ
การจัดการทรัพยาการ
การผลิต/การบริการ
มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร
ร้านอาหาร
แผงลอยจำหน่ายอาหาร
โรงอาหาร
ภาชนะอุปกรณ์
การรวมขยะ และน้ำโสโครก
ห้องน้ำ ห้องส้วม
ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ