Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหากระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหากระดูก
ประเภทการบาดเจ็บไข้สันหลัง
1.บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์
2.บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์
การแบ่งระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บของกระดูกไขสันหลัง
ระดับCหมายถึงความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยู่ต่ากว่าระดับ3
ระดับDหมายถึงความแข็งแรงของกล้ามเนื้อตั้งแต่ระดับ3ขึ้นไป
ระดับBหมายถึงมีความรู้สึกในระดับS4-5แต่เคลื่อนไหวไม่ได้เลย
ระดับEหมายถึงการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกปกติ
ระดับAหมายถึงอัมพาตอย่างสมบูรณ์ไม่มีการเคลื่อนไหว และไม่มีความรู้สึก
การประเมินการบาดเจ็บไขสันหลัง
ตกจากที่สูงในแนวดิ่งเช่นมีกระดูกส้นเท้าหักหรือก้นกระแทกพื้นหรืออุบัติเหตุขณะดาน้ำหรือว่ายน้ำ
กระเด็นออกนอกยานพาหนะเช่นรถยนต์มอเตอร์ไซค์หรือนั่งใรถยนต์โดยไม่คาดเข็มขัดนิรภัย
ตกจากที่สูงมากกว่า3เท่าของความสูงของผู้ป่วยหรือสูงมากกว่า 6เมตร
ได้รับบาดเจ็บรุนแรงที่ทรวงอกและภายในช่องท้อง
มีบาดเจ็บเหนือกระดูกไหปลาร้าหรือมีบาดเจ็บที่ใบหน้าอย่างรุนแรง
ให้ประวัติควบคุมปัสสาวะไม่ได้หลังบาดเจ็บ
ความดันโลหิตต่าร่วมกับชีพจรช้า
ได้รับบาดเจ็บจากการแขวนคอ
ปวดหลังหรือปวดตามแนวกึ่งกลางหลังจะปวดมากขึ้นถ้าร่างกายมีการเคลื่อนไหวเช่นขยับตัวบางรายอาจบ่นรู้สึกเหมือนมีกระแสไฟฟ้าวิ่งตามลาตัวและแขนขา
ปวดตึงต้นคอหรือความรู้สึกที่แขนขาลดลง
การรักษาอาการบาดเจ็บไขสันหลัง
การรักษาแบบประคับประคอง
การจัดท่าเพื่อคงส่วนโค้งเว้าของกระดูกสันหลัง
การดึงคอที่กะโหลกศีรษะ
ข้อเสีย
ผู้ป่วยต้องนอนนานเป็นเวลาประมาณ6-8สัปดาห์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การผ่าตัด
วิธีที่เหมาะสมที่สุดสำหรับในกรณีที่มีเศษกระดูกกดที่ไขสันหลังหรือรากประสาทการผ่าตัดช่วยลดการกดทับที่ไขสันหลังหรือรากประสาทการผ่าตัดมักช่วยลดระยะเวลานอนให้สั้นลง
ข้อเสีย
เพิ่มความเสี่ยงที่ทำให้ไขสันหลังหรือรากประสาทได้รับความชอกช้ำมากขึ้น
ความคล่องตัวในการเคลื่อนไหวกระดูกสันหลังลดลง
การพยาบาลในระยะเฉียบพลัน
ป้องกันไม่ให้ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือมีพยาธิสภาพเพิ่มมากขึ้น
ป้องกันโรคแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
แก้ไขสาเหตุที่ทำให้ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ
สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์/บุคลากรทางเวชกรรมฟื้นฟูและผู้ป่วยและญาติ
แก้ไขปัญหาที่จะทำให้ถึงแก่ชีวิตเช่นภาวะเลือดออกหายใจลำบาก
หลักการขนย้ายผู้ป่วยที่มีหรือสงสัยว่ามีกระดูกสันหลังหัก
หาวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อดามตัวผู้ป่วยตั้งแต่ศีรษะจนถึงหลังก่อนขนย้ายผู้ป่วย
พลิกตัวผู้ป่วยเป็นท่อนซุงให้ศีรษะและลาตัวเคลื่อนไปพร้อมๆกันอย่างน้อยใช้คน3คนยกผู้ป่วยถ้ามีเปลจะยกย้ายได้สะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น
เตือนผู้ป่วยมิให้ขยับเขยื้อนหรือเคลื่อนย้ายตัวเองยกเว้นในกรณีที่ต้องรีบออกจากที่เกิดเหตุ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สบายเจ็บปวดน้อยที่สุด
การพยาบาลในระยะรักษาตัวในโรงพยาบาล
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ประเมินการรับความรู้สึก
ประเมินmotorability
เฝ้าระวังอาการของautonomicdysreflexiaและSpinalshock
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ประเมินอาการเจ็บปวด
ปรึกษานักกายภาพบาบัดและนักกิจกรรมบาบัดเพื่อเลือกใช้เทคนิคการออกกำลังกายที่เหมาะสม
ระบบทางเดินอาหาร
ถ้าผู้ป่วยมีประวัติหรือมีอาการของโรคกระเพาะหรือได้ยาที่ระคายกระเพาะอาหารควรให้ยาลดกรด
ประเมินbowelsound
ถ้าระดับโปแตสเซียมในเลือดต่ำต้องแก้ไข
ช่วยการขับถ่ายด้วยการสวนหรือล้วงออกทุกวันหรือวันเว้นวัน
ดูแลการงดอาหารและน้ำทางปากให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดา
ประเมินภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินอาการแสดงของภาวะช็อค
เฝ้าระวังภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ประเมินอาการแสดงของเลือดออกรอบๆบริเวณที่บาดเจ็บไขสันหลัง
วิธีการแก้ไขสภาวะนี้
ถ้ามีการเสียเลือดแก้ไขที่สาเหตุและให้เลือดทดแทน
ประเมินอาการแสดงและป้องกันภาวะdeep vein thrombosisของขาทั้ง 2ข้าง
ประคับประคองความดันโลหิตให้พอเพียงถ้าให้น้าเกลือต้องระวังภาวะ pulmonary edema
เฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่าเนื่องจากอาจจะเกิดอุบัติเหตุ
ระบบไตและทางเดินปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ป้องกันกระเพาะปัสสาวะคราก(Bladderoverdistension)
ระยะฟื้นฟู
ประเมินความสามารถในการขับถ่ายปัสสาวะเอง
ดูแลการคาสายสวนปัสสาวะ(Indwellingcatheterization)หรือการคาสวนปัสสาวะเป็นระยะๆ(Intermittentcatheterization)
ระบบทางเดินหายใจ
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเช่นปอดอักเสบ
การให้ออกซิเจน
กระตุ้นในผู้ป่วยหายใจแบบมีประสิทธิภาพ
ทำกายภาพบาบัดเช่นการฝึกหายใจด้วยกระบังลมต้านแรงต้านการช่วยขับเสมหะออกด้วยการเคาะปอดและการจัดท่าเพื่อถ่ายเทเสมหะออก
ติดตามผลการตรวจarterialbloodgas
ให้ยาขยายหลอดลมและยาละลายเสมหะถ้าผู้ป่วยหายใจลาบากและมีเสมหะมาก
ประเมินทางเดินหายใจ
ถ้าหายใจล้มเหลวต้องใส่เครื่องช่วยหายใจหรือเจาะคอ
ด้านจิตใจ
ประเมินสภาพทางจิตใจกระตุ้นผู้ป่วยให้ระบายความรู้สึก
จัดหาผู้ดูแลตั้งแต่แรกรับรวมทั้งมีการสอนผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่แรกรับ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้มากที่สุด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยใช้แหล่งบริการด้านสาธารณสุขที่อยู่ในชุมชนเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ระบบผิวหนัง
ทำความสะอาดร่างกายทุกครั้งเมื่อมีการถ่ายเลอะ
เปลี่ยนผ้าทันทีทุกครั้งที่เปียกชื้นแฉะ
พลิกตัวผู้ป่วยทุก2ชั่วโมง
บำรุงร่างกายผู้ป่วยถ้าผู้ป่วยมีร่างกายซูบผอมและซีด
ประเมินความตึงตัวของผิวหนัง