Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1
โรคหอบหืด, นางสาวพิมพร คำพะทา รหัสนักศึกษา 603101068 -…
กรณีศึกษาที่ 1
โรคหอบหืด
Asthma
ความหมาย
โรคระบบทางเดินหายใจที่มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นชนิดต่างๆ มากเกินไป ทำให้มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลอด เยื่อบุหลอดลมบวม มีเสมหะมากขึ้น หายใจลำบาก จัดอยู่ในระบบ obstructive lung disease
สาเหตุ
ทฤษฎี
-
ปัจจัยภายใน
พันธุกรรม การติดเชื้อทางเดินหายใจ ความเครียด ความโกรธ ความกลัว การใช้ยาบางอย่าง เช่น ยาระงับประสาทหรือยาแก้ปวด
-
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
หายใจลำบาก มีเสียง wheezing อาจมีการใช้กล้ามเนื้ออื่นช่วยในการหายใจ เช่น กล้ามเนื้อที่ไหล่หรือคอ มีอาการไอ หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว เหงื่ออกมาก อ่อนเพลีย
-
Asthma
การประเมินและการวิจฉัย
-
-
การซักประวัติ
ประวัติการเป็นโรคหอบหืด การแพ้ยา สารเคมี อาหารหรือสิ่งต่างๆ เช่น เกสรดอกไม้ ฝุ่น ขนสัตว์ เป็นต้น ประวัติการใช้ยาหรือเคยมีอาการและอาการแสดงของโรคหอบหืด
กรณีศึกษา
การซักประวัติ
ประวัติการเป็นโรคหอบหืด เป็นหอบหืดตั้งแต่เด็ก รักษาไม่ต่อเนื่อง มีอาการครั้งสุดท้ายเมื่อปีที่แล้ว ไม่มียารับประทานประจำปฏิเสธการแพ้ยา
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ไม่มีผลตรวจทางห้องปฎิบัติการของการถ่ายภาพรังสีทรวงอก ผลการเพาะเชื้อจากเสมหะ หรือการตรวจสุขภาพในครรภ์ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
-
-
การป้องกันและการรักษา
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยรักษาค่าออกวิเจนในเลือด (arterial blood gas) ให้มากกว่า 60 mmHg และ O2 saturation มากกว่าร้อยล่ะ 95 ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ corticosteroid
การให้ยาขยายหลอดลม ที่ยม คือ terbulaline และ isoproterenol แต่ isoproterenol ไม่ควรใช้ในระยะเวลานานอาจทำให้ทารกผิดปกติได้
หาสาเหตุหรือปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดอาการของโรค เช่น การติดเชื้อ การสัมผัสสารคัดหลั่งที่ให้เกิดภูมิแพ้
-
-
-
-
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
-
-
-
-
แนะนำเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในร่างกาย โดยเฉพาะการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน ด้วยการรักษาร่างกายให้อบอุ่น ดื่มน้ำวันล่ะ 6-8 แก้ว หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้หรือสัมผัสบุคคลที่เป็นหวัด
-
รายที่มีอาการหอบหืดและใช้ยารักษา ควรให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยา ถ้าใช้ยาแล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรรีบมาพบแพทย์
-
-
ระยะการคลอด
-
รายที่มีอาการรุนแรงให้พิจารณาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหรือทำแท้งในรายที่เป็นโรคหอบหืดเรื้อรังและมีการทำงานของหัวใจและปอดแย่ลง
-
-
เตรียมผู้คลอดและอธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบเกี่ยวกับเหตุผลในการทำ การปฎิบัติและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
-
ในระยะคลอดควรให้ยาระยะคลอดควรให้ยาระงับความปวดชนิด non-histamine releasing เช่น Fentanyl ไม่แนะนำ mophine หรือ meperidine
-
ดูแลให้ได้รับ oxytocin 10 ยูนิตเข้าทางหลอดเลือดดำหรือทางกล้ามเนื้อ เมื่อทารกคลอดไหล่หน้า ห้ามฉีด Methergin เพราะมดลูกจะหดรัดตัวอย่างรุนแรง ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ
ระยะหลังคลอด
-
-
เฝ้าระวังสังเกตอาการผิดปกติ เช่น เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ชีพจรเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก เป็นต้น หากมีอาการควรรีบรายงานแพทย์
-
แนะนำมารดาหลีกเลี่ยงทำงานหนัก 14 วันหลังคลอด งดมีเพศสัมพันธ์ 6 สัปดาห์หลังคลอด ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย ระวังการติดเชื้อ การรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เน้นโปรตีนสูง หลีกเลี่ยงของหมักดอง สุรา คาเฟอีน
สังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ เช่น มารดามีไข้สูง น้ำคาวมีกลิ่นเหม็น ปริมาณไม่ลดลง หายใจเหนื่อยหอบหรือ ทารกดูดนมได้น้อย ซึม ภาวะตัวเหลืองตาเหลือง หายใจเหนื่อยหอบ ชีพจรเต้นเร็ว เป็นต้น
-