Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
กระบวนทัศน์หลักเกี่ยวกับทฤษฎี
บุคคล
โอเร็ม เชื่อว่า บุคคลเป็นผู้ที่มีความสามารถในการกระทำอย่างจงใจ มีความสามารถในการเรียนรู้วางแผน
สุขภาพดี
คือ คนที่มีโครงสร้างที่สมบูรณ์สามารถทำหน้าที่ของตนได้ ทำหน้าที่เป็นการผสมผสานกันของทางสรีระ จิตใจ ด้านสังคม
ปกติสุข
หรือ
ความผาสุก
(Well-being) หมายถึง เป็นการรับรู้ถึงความเป็นอยู่ของตน เป็นการแสดงออกถึงความพึงพอใจ ความยินดีและมีความสุข ซึ่งสัมพันธ์กัน
สิ่งแวดล้อม
หมายถึงิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และสังคมวัฒนธรรม โอเร็มเชื่อว่าคนกับสิ่งแวดล้อมไม่สามารถแยกออกจากกันได้ และมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
สิ่งแวดล้อม
ในแง่ของพัฒนาการ คือะช่วยจูงใจ
บุคคล ให้ตั้งเป้าหมายที่เหมาะสมและปรับพฤติกรรม
ปัจจัยพื้นฐาน
ตามแนวคิดของโอเร็ม เป็นสิ่งแวดล้อมหนึ่งที่กำหนดความสามารถในการดูแลตนเอง และความต้องการในการดูแลตนเอง
การพยาบาล
เป็นการช่วยเหลือบุคคลอื่นให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างต่อเนื่องและเพียงพอกับความต้องการในการดูแลตนเอง
เป้าหมาย
การพยาบาล คือ เพิ่มหรือตอบสนองต่อความต้องการการดูแลตนเองในระดับที่เพียงพอและต่อเนื่อง
พื้นฐานความเชื่อที่นำมาอธิบายมโนทัศน์หลักของทฤษฎี ได้แก่
บุคคล เป็นผู้มีความรับผิดชอบ
บุคคลเป็นผู้ที่มีความสามารถและเต็มใจที่จะดูแลตนเองหรือผู้ที่อยู่ในความปกครองของตนเอง
การดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญ และเป็นความจำเป็นในชีวิตของบุคคลเพื่อด ารงรักษาสุขภาพชีวิต
การดูแลตนเองเป็นกิจกรรมที่เรียนรู้และจดจ าไว้ได้จากสังคม
การศึกษาและวัฒนธรรม
การดูแลตนเองหรือการดูแลผู้ที่อยู่ในความปกครอง ป็นสิ่งที่มีค่าควรแก่การยกย่อง
ผู้ป่วย คนชรา คนพิการ และทารก ต้องได้รับการช่วยเหลือดูแลจากบุคคลอื่น
การพยาบาลเป็นการบริการเพื่อนมนุษย์กระทำโดยมีเจตนาที่จะช่วยเหลือสนับสนุนบุคคลที่มีความต้องการ
จุดเน้น เน้นที่บุคคล คือ ความสามารถของบุคคล
ทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเร็ม ประกอบด้วย 3 ทฤษฎีที่สำคัญ
1. ทฤษฎีการดูแลตัวเอง (Self – care Theory)
1.1 การดูแลตนเอง
(Self - care: SC): หมายถึงบุคคลริเริ่มและกระทำด้วยตนเองเพื่อดำรงไว้ซึ่งชีวิต เมื่อการกระทำที่มีประสิทธิภาพจะช่วยให้โครงสร้าง
หน้าที่และพัฒนาการดำเนินไปถึงขีดสูงสุดของแต่ละบุคคลเพื่อตอบสนองความต้องการในการดูแลตนเอง
ระยะที่ 1 เป็นระยะของการประเมินและตัดสินใจ ในระยะนี้บุคคลจะต้องหาความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ระยะที่ 2 ระยะของการกระท าและประเมินผลการกระท า ซึ่งในระยะนี้จะมีการแสวงหาเป้าหมายของการกระทำ
1.2 ความสามารถในการดูแลตนเอง
(Self-care agency: SCA) หมายถึง พลังความสามารถของบุคคลที่เอื้อต่อการกระทำกิจกรรมการดูแลตนเองอย่างจงใจ
1.2.1 ความสามารถและคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน
1.2.1.1 ความสามารถที่จะรู้(Knowing)
1.2.1.2 ความสามารถที่จะกระท า (Doing)
1.2.1.3 คุณสมบัติหรือปัจจัยที่มีผลต่อการแสวงหา
1) ความสามารถและทักษะในการเรียนรู้
3) การรับรู้
4) การเห็นคุณค่าในตนเอง
5) นิสัยประจำตัว
6) ความตั้งใจและสนใจ
2) หน้าที่ของประสาทรับความรู้สึก
7) ความเข้าใจในตนเองตามสภาพที่เป็นจริง
8) ความห่วงใยในตนเอง
9) การยอมรับในตนเองตามสภาพความเป็นจริง
10) การจัดล าดับความสำคัญ
11) ความสามารถที่จะจัดการเกี่ยวกับตนเอง
1.2.2 พลังความสามารถ 10 ประการ
เป็นคุณลักษณะที่
จำเป็นและเฉพาะเจาะจงเชื่อม การรับรู้และการกระทำ
1.2.2.1 ความสนใจและเอาใจใส่
1.2.2.2ควบคุม
1.2.2.3เคลื่อนไหว
1.2.2.4ใช้เหตุผล
1.2.2.5 มีแรงจูงใจ
1.2.2.6 การตัดสินใจ
1.2.2.7แสวงหา
1.2.2.8้กระบวนการ
1.2.2.9การจัดระบบ
1.2.2.10ต่อเนื่องแบบแผนการดำเนินชีวิต
1.2.3 ความสามา รถในกา รปฏิบัติเพื่อดูแลตนเอง
1.2.3.1 คาดคะเน
1.2.3.2ปรับเปลี่ยน
1.2.3.3ลงมือปฏิบัติ
1.3 ความต้อ งกา รกา รดูแลตนเองทั้งหมด(Therapeutic Self- care Demand: TSCD)
หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรม กระทำในช่วงเวลาหนึ่ง ตอบสนองต่อความจ าเป็นในการดูแลตนเอง
1.3.1 การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป
ความต้องการของมนุษย์ทุกคนตามอายุ พัฒนาการ เพื่อให้คงไว้ซึ่งโครงสร้างและหน้าที่ สุขภาพและสวัสดิภาพ
1.3.1.1 คงไว้ซึ่งอากาศ น้ำ และอาหารที่เพียงพอ
1.3.1.2 คงไว้ซึ่งการขับถ่ายและการระบายให้เป็นไปตามปกติ
1.3.1.3 คงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรมและการพักผ่อน
1.3.1.5 ป้องกันอันตรายต่างๆ ต่อชีวิต หน้าที่ และสวัสดิภาพ
1.3.1.6ส่งเสริมการท าหน้าที่และพัฒนาการให้ถึงขีดสูงสุด ภายใต้ระบบสังคมและความสามารถของตนเอง (Promotion of normalcy)
1.3.2 การดูแลตนเองที่จำเป็นตามพัฒนาการ
1.3.2.1 พัฒนาและคงไว้ซึ่งภาวะความเป็นอยู่ที่ช่วยสนับสนุน
1.3.2.2 ดูแลเพื่อป้องกันการเกิดผลเสียต่อพัฒนาการ
1.3.3 ความต้องการการดูแลตนเองที่จำ
เป็นในภาวะ เบี่ยงเบนทางด้านสุขภาพ
1.3.3.1การช่วยเหลือ
1.3.3.2 รับรู้สนใจ
1.3.3.3 ปฏิบัติตามแผนการรักษา
1.3.3.4ผลข้างเคียงการรักษา
1.3.3.5 ยอมรับ คุณค่าในตนเอง
1.3.3.6 เรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่
1.4 ปัจจัยพื้นฐาน (Basic Conditioning Factors: BCFs)
ภายในและภายนอกของบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการดูแลตอนเองและต่อความสามารถในบทบาทของพยาบาล
2. ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (The Theory of Self – care Deficit)
2.1 ความต้องการที่สมดุล
2.2 ความต้องการน้อยกว่า
2.3 ความต้องการมากกว่า
3. ระบบการพยาบาล (The Theory of Nursing System)
3.1 ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly compensatory nursing system)
3.1.1 ผู้ที่ไม่สามารถจะปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆได้
3.1.2 ผู้ที่รับรู้สังเกตุและตัดสินใจ
3.1.3 ผู้ที่ไม่สนใจหรือเอาใจใส่ในตนเอง
3.2 ระบบทดแทนบางส่วน (Partly compensatory nursing system)
2.1 ต้องจำกัดแต่สามารถเคลื่อนไหวได้
บางส่วน
3.2.2 ขาดความรู้และทักษะที่จำเป็น
3.2.3 ขาดความพร้อม
3.3 ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้(Educative supportive nursing System)
**
การกระท าให้หรือกระท าแทน
การชี้แนะ
การสนับสนุน
การสอน
การสร้างสิ่งแวดล้อม
ความสามารถทางการพยาบาล (Nursing Agency:NA)
ความรู้
ประสบการณ์
3.ลงมือปฏิบัต
ทักษะทางสังคม
แรงจูงใจ
อัตมโนทัศน์
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็มกับกระบวนการพยาบาล
ขั้นตอนที่1 ขั้นวินิจฉัยและพรรณนา ( Diagnosis and Prescription )
ขั้นตอนที่2 ขั้นวางแผน (Design and Plan)
ขั้นตอนที่3 ขั้นปฏิบัติการพยาบาลและควบคุม (Regulate and Control)