Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาการติ…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาการติดเชื้อ
ไข้ฉี่หนู
โรคฉี่หนู ไข้ฉี่หนู หรือโรคเลปโตสไปโรซิส
เป็นโรครับจากสัตว์ ชินิดหนึ่ง สามารถติดได้จากสัตว์หลายชนิด
การป้องกัน
ไม่เดินลุยน้ำ ย่ำโคลน หรือที่ชิ้นแฉะมีน้ำขังด้วยเท้าเปล่า เช่น ชาวนา ชาวสวน คนงานขุดลอกท่อระบายน้ำ
ถ้ามีบาดแผลตามตัว ควรงการลงแช่ในน้ำ
ไม่ใช้น้ำในแหล่งน้ำที่มีวัว ควายลงไป
หลังเสร็จภารกิจที่ต้องสัมผัสน้ำหรือที่ชื้นแฉะแล้ว ควรรีบอาบน้ำชำระร่างกาย หรือล้างมือล้างเท้าให้สะอาด
ผักสด ผลไม้ต้องล้างด้วยน้ำสะอาดหลายๆ ครั้ง
ควรรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ หากจำเป็นต้องเก็บไว้ ควรใส่ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิดป้องกันไม่ให้หนูมาเยี่ยวรดได้
ผู้ที่รับประทานหนู ควรสวมถุงมือระหว่างชำแหละและควรทำให้สุกก่อนรับประทาน
ไข้มาลาเรีย
อาการทั่วไป
ปวดศรีษะ
อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง
ไม่สบายในท้อง ปวดท้อง
ปวดกล้ามเนื้อและข้อ ร่วมกับไข้หนาวสั้น เหงื้อออก
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
อาการรุนแรง
ระดับการรับรู้สติลดลงหรือหมดสติ
อ่อนเพลียมา ชัก
เหนื่อยหอบ น้ำท่วมปอด
ช็อค
ปัสสาวะออกน้อยจนถึงไม่มี ไตวาย
ตัวตาเหลืองร่วมกับอวัยวะสำคัญทำงานผิดปกติ
เลือดออกผิดปกติ
มาลาเรีย หรือ ไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็นหรือไข้ดอกสัก
เป็นโรคติดเชื้อของ มนุษษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ
มีสาเหตุจากปรสิต
น้ำลายยุงก้นปล่องเพศเมีย ( sporozoite )
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการใส่สายสวนปัสสาวะ
พบการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะหลังอยู่โรงพยาบาล 7 วันขึ้นไปจากการส่งปัสสาวะตรวจ
ดูแลสายปัสสาวะไม่ให้หักพังงอ สังเกตสี ไม่ให้เข้มขุ่น
แนะนำผู้รับบริการดื่นน้ำมากกว่า 1,000 MI ต่อวันหากไม่มีข้อจำกัด
ติดตามภาวะไข้ อาการไข้ สูงหนาวสั่น
ไข้หวัดนก
อาการ/อาการแสดง
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ ไอ มีน้ำมูก มีไข้สุง
ติดต่อจาก
การสัมผัสสัตว์ดดยตรงการใช้ของร่วมกัน เช่น ดื่มน้ำจากแก้วน้ำ รับประทานอาหารจากช้อนด้วย การไอจาม การสัมผัส
การป้องกัน
แนะนำผู้รับบริการล้างมือบ่อยๆอย่างถูกวิธี เช็ดให้แห้งใช้หน้ากากปิดปากปิดจมูก หลีกเลียงสัมผัสสัตว์เลี่ยงที่เป็นพาหะ
ติดเชื้ อระบบทางเดินปัสสาวะ/กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ปวดปัสสาวะบ่อยแบบกะปริบกะปรอย
ปัสสาวะเกินวันละ 5 ครั้ง
ปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ
ปัสสาวะมากผิดปกติ
เมลิออยโดสิส
อาการ/อาการแสดง
ระยะเฉียบพลัน (ฟักตัว 1-2 วัน )
การติดเชื้อโดยไม่มีอาการ การติดเชื้อเฉพาะที่ในอัวัยวะหนึ่งที่อาจจเป็นเรื้อรังจนถึงรุนแรง
คล้ายกับการติดเชื้อจากแบคทีเรียกรัมลบอื่นๆ ผู้ป่วยอาจเสียชีวิตในเวลาเพียง 1-3 วัน
ในรายที่มีอาการรุนแรงจะพบมีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวได้
การป้องกัน
ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวานและผู้ที่มีบาดแผลควรหลีกเลียงการสัมผัสดินหรือแหล่งน้ำ เช่นในนาข้าว ซึ้งเป็นแหล่งที่มีโรคชุกชุม
ในแหล่งที่มีโรคชุกชุม ควรให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรังหรือมีบาดแผล
ติดเชื้อดื้อยา
อาการ/อาการแสดง
มีไข้สูงแสดงอาการ/ของการติดเชื้อนั้นๆ ตรวจเลือดผลเป็นเชื้อดื้อยา
การดูแล/ป้องกัน
ควบคุมเชื้อตามแนวทางของโรงพยาบาล แยกของใช้ผู้ป่วย ใส่ถุงมือ ใส่เสื้อกาวน์ หมวก ล้างมือเป็นประจำ
กระบวนการติดเชื้อ
ตัวกระทำที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
แหล่งที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
แหล่งทางออกติดเชื้อ
รูปแบบการแพร่กระจาย
ทางเข้าเชื้อ
ผู้รับเชื้อ