Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจและหลอดเลือด ในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ในสตรีตั้งครรภ์
ความสำคัญและอุบัติการณ์
เป็นโรคทางอายุรศาสตร์ที่เป็นสาเหตุการตายของมารดาบ่อยที่สุด
พบได้บ่อย คือประมาณร้อยละ 1-2 ของสตรีตั้งครรภ์
ส่วนใหญ่เป็นโรคหัวใจรูห์มาติค (90% เป็นชนิด mitral stenosis; MS) แต่ปัจจุบันโรคหัวใจโดยกาเนิดพบขณะตั้งครรภ์ได้บ่อยขึ้น หรือบ่อยกว่า
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
การวินิจฉัยยากขึ้น: อาการและอาการแสดงหลายอย่างของการตั้งครรภ์คล้ายโรคหัวใจ
โรคหัวใจรุนแรงขึ้นขณะตั้งครรภ์ : ระดับความรุนแรงมากขึ้น หัวใจล้มเหลวบ่อยขึ้น
ไข้รูห์มาติคมีแนวโน้มเป็นกลับซ้าบ่อยขึ้นในขณะตั้งครรภ์
โรคลิ้นหัวใจมีโอกาสเกิด bacterial endocarditis ขณะคลอด หรือหัตถการช่วยคลอด
การตั้งครรภ์ทำให้เกิด cardiomyopathy ในระยะหลังคลอดได้แม้อุบัติการน้อย
ผลต่อมารดา
มารดามีโอกาสเสียชีวิตได้ สูงถึงร้อยละ 25-50 ในกรณีของ rheumatic heart disease
มารดาอายุยังน้อยมีโอกาสเกิด recurrent rheumatic fever
กรณีของ valvular heart disease มีโอกาสเกิด bacterial endocarditis ได้ขณะคลอด
ผลต่อทารก
มีโอกาสทาให้เกิดการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด
เพิ่มอัตราภาวะโตช้าในครรภ์
มีโอกาสที่จะเป็น
congenital heart disease สูงกว่าปกติ
อาการที่ควรคิดถึงโรคหัวใจ
อาการหายใจลำบากที่รุนแรง หรือเป็นช่วง ๆ ตอนกลางคืน
อาการนอนราบไม่ได้
ไอเป็นเลือด
เป็นลมเมื่อออกแรง เหนื่อยง่ายมาก
เจ็บอกที่สัมพันธ์กับการพยายามออกแรงหรืออารมณ์
Clubbing of fingers,cyanosis
Persistent neck vein distention
Systolic murmur grade3/6 or greater
Diastolic murmur
Cardiomegaly
Persistent arrhythmia
Persistent split second sound
Criteria for pulmonary hypertension
การตรวจพิเศษ
EKG
Echocardiography (อาจเป็น doppler) พิจารณาเป็นราย ๆ ไป
ความรุนแรงของโรคหัวใจขณะตั้งครรภ์ก็ยังคงนิยมใช้ตาม New York Heart Association (NYHA)
Class I Uncompromised
ไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ โดยไม่ต้องถูกจำกัดกิจกรรม
Class II Slightly compromised
มีอาการเล็กน้อย อยู่เฉยๆรู้สึกสบายดีแต่การทางานปกติทาให้รู้สึกเหนื่อย ในสั่น หายใจลำบากหรืออาจมีอาการเจ็บหน้าอก
Class III Markedly compromised
ต้องจำกัดกิจกรรม ทำงาน เพียงเล็กน้อยรู้สึกเหนื่อย ใจสั่น หายใจลำบาก หรืออาจมีอาการ เจ็บหน้าอก
Class IV Severely compromised
ไม่สามารถทางานใดๆได้อยู่เฉยๆก็เหนื่อย
การประเมินความรุนแรงของโรคหัวใจ
ประเมินครั้งแรกอายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์
ประเมินอีกครั้งเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์ เพราะเป็นช่วงที่ CO สูงสุด
สตรีที่เป็นโรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ อาการจะรุนแรงขึ้นอีก 1 class
สตรีที่เป็นโรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ class I และ class II สามารถตั้งครรภ์จนครบกำหนดได้
สตรีที่เป็นโรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ class III ต้องนอนพักตลอดระยะการตั้งครรภ์
สตรีที่เป็นโรคหัวใจเมื่อตั้งครรภ์ class IV ไม่ควรตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว
ไอบ่อย ไอมาก ไอเป็นเลือด
มีอาการหอบ เหนื่อยมาก
นอนราบไม่ได้
บวมที่ขา เท้า หรือบวมทั่วตัว หน้า แขน
คลำบริเวณหัวใจพบว่ามีหัวใจสั่น
อ่อนเพลียมาก หรือเป็นลมหมดสติ
แนวทางการดูแลรักษาโรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การดูแลรักษาทั่วไป
การทำแท้งเพื่อการรักษา
การควบคุมโรคด้วยยาต่าง ๆ
ระวังภาวะหัวใจล้มเหลวตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ เช่น นับลูกดิ้น NST, BPP
การดูแลระยะคลอด
การคุมกำเนิด
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
ควรได้รับการประเมินจากแพทย์ว่าสามารถตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัยหรือไม่?
การคุมกำเนิดด้วยวิธีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัย
ถ้าเป็น class I หรือ class II ที่ไม่เคยหัวใจล้มเหลวมาก่อนอนุญาตให้ตั้งครรภ์ได้
ผู้ป่วย class III และ class IV เป็น class II ที่เคยมีประวัติหัวใจล้มเหลวมาก่อน ไม่ควรแนะนำให้ตั้งครรภ์
การดูแลในระยะตั้งครรภ์
จำกัดกิจกรรมด้านร่างกายเพื่อป้องกันCardiac ecompensation
ไม่ควรให้น้าหนักเพิ่มมากเกินไป อาหารครบ 5 หมู่ เน้นโปรตีน อาจลดเกลือแต่ระวังภาวะเกลือต่า ทารกมีภาวะ IUGR ได้
ป้องกันภาวะซีด
ป้องกันการติดเชื้อโดยเฉพาะ URI
ประเมินภาวะ Pulmonary edema cardiac dysrhythmias
การดูแลผู้ป่วยตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ class I,II
รับไว้ในโรงพยาบาลเมื่อมีภาวะแทรกซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงของ functional class อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์และก่อนคลอด 1-2 สัปดาห์
สังเกตอาการเตือน
คลอดทางช่องคลอด
ระวังการเจ็บครรภ์คลอดในระยะที่ 2 ควรช่วยคลอดด้วย forceps, vacuum
การดูแลผู้ป่วยตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ class III
แนะนำ Therapeutic abortion ในไตรมาสเเรก หากไม่ต้องการบุตร
หากต้องการบุตร ต้องให้นอนพักในรพ.ตลอดการตั้งครรภ์
ให้คลอดทางช่องคลอด
การดูแลผู้ป่วยตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ class IV
มุ่งรักษาที่ตัวมารดา
รักษาแบบโรคหัวใจล้มเหลว
ผลกระทบต่อทารกที่มารดาเป็นโรคหัวใจ
u/s เพื่อประเมินว่าทารกมี่ภาวะ heart anomalies หรือ IUGR หรือไม่
หากทารกในครรภ์มีภาวะ IUGR ทาการประเมินว่าเป็นมากจนมีภาวะ oligohydraminos ร่วมด้วยหรือไม่
NST เพื่อ monitor การเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นหัวใจของทารก
การใช้ยา
Digitalis พิจารณาให้ในรายที่ โรคหัวใจ class III และ class IV
ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือดห้ามใช้ Warfarin ให้ใช้Heparin หรือให้ Enoxaparin(Lovenox)
การให้ beta blockers สัมพันธ์กับการกดการหายใจ
ยาที่ใช้ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก เช่น ritodrine และ Turbutarine มีความสัมพันธ์กับกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การคุมกำเนิด
ทำหมันเมื่อ Cardiac output กลับสู่ปกติ
ห้ามทำหมันโดย laparoscope
ไม่ควรใช้ยาเม็ดคุมกาเนิด
การใส่ห่วงคุมกาเนิดจะเพิ่มความเสี่ยงต่อ bacterial endocarditis