Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก :red_flag: - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก :red_flag:
Epilepsy :!!:
สาเหตุ :!?:
2.ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่
ระดับน้ำตาลในเลือด
ระดับแคลเซียม
แมกนีเซียมในเลือดต่ำ
3.พยาธิสภาพที่สมอง(mass lesion)
เนื้องอกที่สมอง
การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.ประวัติครอบครัว มีคนเป็นโรคลมชัก
4.โรคหลอดเลือดในสมอง(vascular) เลือดออกในสมอง
5.การติดเชื้อภายในระบบประสาท ไข้สมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ความหมาย :<3:
ผู้ป่วยที่มีอาการชัก ที่มีอาการชัก มากว่า 2 ครั้งโดยเกิดขึ้นห่างกัน ภายใน 24 ชั่วโมง
คือ อาการที่เกิดจาก ภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลันของการทำงานของเซลล์สมอง
พยาธิสรีภาพ :red_flag:
เกิดเนื่องจากเซลล์สมองปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมามากกว่าปกติ หรือปล่อยออกมาในเวลาเดียวกันซึ่งอาจ มีสาเหตุจากความผิดปกติของเมมเบรนของเซลล์สมอง
การตรวจวินิจฉัย :explode:
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเจาะหลัง (Lumbar puncture) ส่งน้ำไขสันหลังตรวจ เพื่อการวินิจฉัย
การตรวจเลือด เช่น CBC, Blood sugar, Calcium, BUN, Cr, Electrolyte
1.การชักประวัติโดยการสอบถามผู้ป่วยญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์
2.การตรวจร่างกาย
การตรวจศรีษะเกี่ยวข้องกับระบบประสาท
รอยแผลจากการผ่าตัด
4.การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG)
การรักษา :star:
หลักการ
2.เริ่มจากการให้ยาป้องกันชัก เพียงชนิดเดียวก่อน (monotherapy)
3.ถ้าไม่สามารถคุมอาการชักได้ พิจารณาเพิ่มชนิดยา (polytherapy) หรือเปลี่ยนกลุ่มยาป้องกันการชัก
1.การใช้ยาป้องกันการชัก เลือกให้เหมาะสมกับชนิดของอาการชัก และโอกาสที่ได้รับผลข้างเคียงจากยาน้อย
4.พิจารณาหยุดยาป้องกันการชัก เมื่อไม่มีอาการชักติดต่อกัน 2 ปี
ยาป้องกันการชักใช้ในเด็ก
1.กลุ่มยาป้องกันการชักรุ่นแรก ออกฤทธิ์ครอบคลุมอากรชัก
Phenobarbital ให้ยาทางหลอดเลือดดำ ขนาดยา 3-5 mg/kg/day
Phenytoin ให้ทางหลอดเลือดดำ ขนาดยา 3-8 mg/kg/day
2.กลุ่มยาป้องกันการชัก รุ่นสองและสาม
เป็นกลุ่มยาที่ พัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาในเด็ก ที่ไม่ตอบสนองต่อยาป้องกันการชักรุ่นแรก
ลดการเกิดผลข้างเคียงที่พบบ่อย ในยาป้องกันการชักรุ่นแรก เช่น ปัญหาการคิดรู้ ปัญหาพฤติกรรม การแพ้ยารุนแรง พิษต่อตับ
การพยาบาล :pencil2:
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ ๒ มีโอกาสเกิดปอดบวมเนื่องจากการสูดสำลักน้ำลายขณะชัก
กิจกรรมพยาบาล
3.ขณะเด็กชัก ไม่ผูกยึดแขนหรือขา เพราะจะทำให้กระดูกหัก หรือข้อเคลื่อนได้
4.จัดให้เด็กนอนพักผ่อนในห้องที่เงียบสงบ สิ่งแวดล้อมสะอาด อากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อลดเมตาบอลิซึมของร่างกาย
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ป้องกัน Airway obstruction
ตรวจวัด Vital sign ทุก 4 ชม.
จัดให้เด็กนอนราบ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก
6.ดูแลให้ยากันชัก ตามแผนการรักษา
สังเกตอาการ ระยะเวลาชัก ระดับความรู้สึกตัว
8.ดูแลความปลอดภัย และระวังเด็กตกเตียง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ ๓ มีโอกาสเกิดเซลล์สมองถูกทำลายเนื่องจากการชักนาน
กิกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ตามแผนการรักษา
ประเมินว่าผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอหรือไม่ถ้าไม่เพียงพอดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 2 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการเซลล์สมองถูกทำลาย
ติดตามประเมินค่าออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation)
ประเมินการหายใจของผู้ป่วย สังเกตอาการและอาการแสดงของการ หายใจที่มีประสิทธิภาพ เช่น อัตราการหายใจ ลักษณะการหายใจ
ดูแลจัดท่านอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการชัก และติดตามผลข้างเคียงของยา
สังเกตและบันทึกลักษณะอาการชัก (ถ้าผู้ป่วยเกิดอาการชัก)
ดูแลความปลอดภัย ระวังการกระแทกกับของแข็ง
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ ๑ มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการมีไข้สูง (ชัก)
กิจกรรมการพยาบาล
4.ดูแลให้ยาลดไข้ตาแผนการรักษา(กรณีไข้มากกว่า38องศาเซลเซียส)
5.ดูแลให้สวเสื้อผ้าบางๆ
3.กระตุ้นการดื่มน้ำ,ดูดนม
6.ติดตามไข้ทุก15-30นาที
2.ดูแลเช็ดตัวลดไข้
7.ดูแลให้พักผ่อน สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ว่ามีอาการชัก
1.วัดv/s (Temp,Pulse,RR) ทุก4ซม.
8.เตรียออกซิเจนและลูกสูบยางแดงประขำเตียงผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ ๔ มารดาขาดความรู้ในการดูแลบุตรขณะชัก (อธิบายให้มารดาเข้าใจวิธีการดูแลบุตร)
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอนให้เด็กนอนราบ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อป้องกันการสำลัก
สังเกตอาการชัก / เกร็ง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยใช้ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะ
ในขณะที่เด็กชัก งดให้น้ำหรือนม ไม่เอาอุปกรณ์ใดๆ เข้าไปงัด ในปากเด็ก อาจทำให้ฟันหัก ตกลงไปอุดทางเดินหายใจได้และเด็กอาจเสียชีวิตจากการขาดอากาศหายใจ
เมื่อเด็กมีไข้ 38 องศาเซลเซียส ให้เช็ดตัวลดไข้
ในขณะที่เด็กชัก ให้บิดาหรือมารดาอยู่ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
อาการและอาการแสดง :fire:
อาการชักเฉพาะส่วน (Partial หรือ Focal Seizures)
2.อาการชักแบบไม่รู้ตัว (Complex Partial Seizures) สามารถเกิดขึ้นโดยที่ผู้ป่วยอาจไม่รู้ตัวและไม่สามารถจดจำได้ว่าเกิดอาการขึ้นเมื่อใด
1.อาการชักแบบรู้ตัว (Simple Focal Seizures) สำหรับอาการชักประเภทนี้ ขณะที่เกิดอาการ ผู้ป่วยจะยังคงมีสติครบถ้วน โดยผู้ป่วยอาจมีความรู้สึกแปลก ๆ หรือมีความรู้สึกวูบ ๆ
อาการชักที่มีผลต่อทุกส่วนของสมอง (Generalized Seizures)
3.อาการชักแบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง (Atonic Seizures) อาการชักที่ส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงลง
4.อาการชักแบบชักกระตุก (Clonic Seizures) เป็นอาการชักที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อที่ผิดปกติ
2.อาการชักแบบชักเกร็ง (Tonic Seizures) เป็นอาการชักที่ทำให้เกิดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
5.อาการชักแบบชักกระตุกและเกร็ง (Tonic-clonic Seizures) เป็นอาการชักที่ส่งผลต่อกล้ามเนื้อในร่างกายทุกส่วน
1.อาการชักแบบเหม่อลอย (Absence Seizures) เป็นอาการชักที่มักเกิดขึ้นในเด็ก อาการที่โดดเด่นคือการเหม่อลอย
6.อาการชักแบบชักสะดุ้ง (Myoclonic Seizures) อาการชักชนิดนี้มักเกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน
Febrile convulsion
สาเหตุ :question:
2.ภาวะที่มสองของเด็กยังไม่เจริญสมบูรณ์เต็มที่
3.บางรายเกิดภายหลังที่ได้รับวัคซีน DTP หรือ Measlse
1.พันธุกรรม ครอบครัวมีระบบเป็นโรคลมชัก
พยาธิสรีภาพ :red_flag:
มีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึมของเซลล์สมอง ทำให้เซลล์ประสาทสมองไวต่อการที่จะเกิดการชัก ขึ้นกับอายุและการเจริญเติบโตของสมองด้วย
ความหมาย :<3:
คือภาวะที่มีอาการชักที่เกิดขึ้นร่วมกับไข้มากกว่า 38 องศาเซลเซียส โดยทั่วไปพบในเด็กอายุระหว่าง 6 เดือนถึง 5 ปี ที่ไม่เคยมีอาการชัก โดยมีไข้นำมาก่อน และต้องไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาทส่วนกลาง
อาการชักมักเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกของการมีไข้
การตรวจวินิจฉัย :explode:
1.การซักประวัติ
อาการก่อนชัก อาการหลังชัก
ประวัติพัฒนาการ
ประวัติการชัก
3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจ CBC (complete blood count)
การส่งตรวจ Elecrotyte ตรวจน้ำตาล ตรวจระดับแคลเซียม
2.การตรวจร่างกาย
ตรวจ Brudzinski's sign
ตรวจ kerning'sign
การตรวจทางระบบประสาท
การรักษา :star:
1.การรักษาขณะที่เด็กกำลังชัก
ถ้ามีอาการชักนานเกิน 5 นาที ให้ยา Diazepam 0.3 mg/kg/dose
ในกรณีที่เด็กชักซ้ำ ให้อีกภายใน 5 นาที ไม่เกิน 2 ครั้ง
2.การรักษาภายหลังที่เด็กหยุดชัก
แพทย์จะชักประวัติเพื่อตรวจร่างกาย
การพยาบาล :pencil2:
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3.จำหน่ายผู้ป่วย การจัดการอาการไข้
กิจกรรมการพยาบาล
3.แจกเอกสารแผ่นพับเรื่องการดูแลผู้ป่วยอาการซักเมื่อกลับบ้าน
4.แนะนำการอ่านสื่อโปสเตอร์การจักการอาการไข้
2.สาธิตและให้ผู้ดูแลสาธิตย้อนกับเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเช่นการเช็ดตัวลดไข้
5.เปิดโอกาสให้ผู้ดูแลซักถามข้อสงสัย
1.สอน/อธิบายเกี่ยวกับการจักการอาการไข้
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2.เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุและอันตรายจากการซัก
กิจกรรมการพยาบาล
3.ไม่ควรผูกยึดตัวเด็กขณะที่มีอาการซัก
4.คลายเสื้อผ้าให้หลวมโดยเฉพาะรอบๆคอเพื่อให้หายใจได้สะดวก
2.จัดให้เด็กนอนราบใช้ผ้านิ่มๆเช่นผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวหนุนบริเวณใต้ศีรษะเพื่อป้องกันไม่ให้ศีรษะกระแทกกับพื้นเตียง
5.ไม่ใช้ไม้กดลิ้นผู้ป่วยเพราะอาจจะเป็นอันตรายจากการฟันหัก
1.จัดให้เด็กนอนตะแคงหน้าเพื่อให้น้ำลายไหลออกจากปาก
7.สังเกตและบันทึกการซัก ลักษณะใบหน้า ระดับการรู้สติของเด็ก ก่อน ระหว่าง และหลังการซัก
6.ดูแลให้ยาควบคุมการซักตามแผนการรักษา
ข้อวินิฉัยข้อที่ 1.เสี่ยงต่อการเกิดอาการซักซ้ำเนื่องจากมีไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
3.กระตุ้นการดื่มน้ำ,ดูดนม
4.ดูแลให้ยาลดไข้ตาแผนการรักษา(กรณีไข้มากกว่า38องศาเซลเซียส)
2.ดูแลเช็ดตัวลดไข้
5.ดูแลให้สวมเสื้อผ้าบางๆ
1.วัดv/s (Temp,Pulse,RR) ทุก4ซม.
6.ติดตามไข้ทุก15-30นาที
7.ดูแลให้พักผ่อนสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ว่ามีอาการชัก
8.เตรียมออกซิเจนและลูกสูบยางแดงเตรียมไว้ข้างตัวผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง :fire:
1.simple febrile seizure ภาวะชักจากไข้ธรรมดา
เกิดขึ้นไม่นานเกิน 15 นาที
ไม่มีอาการชักซ้ำใน 24 ชั่วโมง
อาการชักเกร็งแบบทั้งตัว
ไม่มีความผิดปกติของระบบประสาท
2.complex febrile seizure ภาวะชักจากไข้แบบซับซ้อน
อาจมีอาการชักทั้งตัว
ระยะเวลาชัก ไม่นานเกิน 15 นาที
มีอาการชักจากไข้ เกิดขึ้นเฉพาะที่
เกิดอาการชักซ้ำ ภายใน 24 ชั่วโมง
มีอาการชักก่อน หรือเกิดขึ้นหลังอาการชัก อาจมีอาการแขนขาอ่อนแรงตามมา