Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการพยาบาลไนติงเกล Nightingal - Coggle Diagram
ทฤษฎีการพยาบาลไนติงเกล
Nightingal
เป็นทฤษฎีการพยาบาลแรก
Notes on nursing ปี1859เป็นทฤษฎีการพยาบาลฉบับแรก
มีอิทธิพลจากการศึกษา การสังเกต และการปฏิบัติด้วยมือ
โดยใช้พื้นฐานทฤษฎีความเครียด การปรับตัว และความต้องการ
ท่านให้ความสำคัญต่อสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่มี
ผลต่อสุขภาพ และความ เจ็บป่วยเป็นอย่างมาก
เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึง ความสัมพันธ์ของมนุษย์ กับ สิ่งแวดล้อม
การพัฒนาทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล
สิ่งที่ต้องตระหนัก คือ สมัยไนติงเกล ยังไม่มีการค้นพบทฤษฎีจุลชีพ(Germ’s theory)
จึงไม่อิงอยู่กับวิทยาศาสตร์ แต่ขึ้นอยู่กับ การใช้เหตุใช้ผล และสามัญสำนึก(Common sense) ที่ได้จากประสบการณ์
กรอบอ้างอิงของทฤษฎี คือ
การที่บุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
มโนมติที่สำคัญประกอบด้วย 3 มโนมติหลัก คือ
3.การพยาบาล
สิ่งแวดล้อมย่อมมีอิทธิต่อสุขภาพ
โดยการพยาบาลจะมุ่งเน้นที่บุคคล
ใช้ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลการสังเกต และสิ่งแวดล้อม
เพื่อประเมินและจัดกิจกรรมการพยาบาล
การให้การพยาบาล: การให้ยา การทำแผล การให้อาหารที่เพียงพอเหมาะสม
ที่สำคัญที่สุด คือ การจัดสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยให้สะอาดเงียบ สงบ มีความอบอุ่น มีแสงสว่างอย่างเพียงพอจะทำให้ผู้ป่วยมีพลังชีวิต (Vital power)
วัตถุประสงค์หลักของการพยาบาล คือ
การจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในสภาพที่ดีที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้เกิดการ
เยียวยาโดยธรรมชาติ
Nightingale’s Environment Theory Frame work concept (Torres, 1988)
สิ่งแวดล้อม เป็นตัวกำกับ การพยาบาล
ภาวะสุขภาพและมนุษย์
มนุษย์ หมายถึง ผู้ป่วยซึ่งมารับการปฏิบัติรักษาจากพยาบาลด้วยสิ่งแวดล้อมเหมาะสม
ผู้ป่วยมีศักยภาพการซ่อมแซมสุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่วย และสามารถฟื้นคืนสภาพได้ดี
ถ้ามีสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
ภาวะสุขภาพ เป็นความสามารถดำรงภาวะสุขภาพด้วยพลังอำนาจของบุคคล ในการใช้ธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเกิดการซ่อมแซมเมือมีการเจ็บไข้ มีการควบคุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันการเกิดโรคพยาบาลจะช่วยเหลือบุคคลให้มีกระบวนการหายที่ดี โดยมุ่งเน้นที่สุขภาพ และการเจ็บไข้เป็นสำคัญ
สุขภาพในทัศนะของไนติงเกล มองในภาวะความปราศจากโรคมนุษย์มีความต้องการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
มนุษย์มี 2 ลักษณะ คือ กลุ่มที่เป็นโรค และกลุ่มที่ไม่เป็นโรค
ภาวะสุขภาพและมนุษย์ แยกออกจากกันไม่ได้
1.สิ่งแวดล้อม
เป็นสถานการณ์ และแรงผลักภายนอกที่มีผลโดยตรงต่อชีวิตและพัฒนาการของบุคคลรวมถึงอาหาร ท่าที และวาจาของพยาบาล เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอาจเพิ่มความเครียด หรือให้ความผ่อนคลาย
มองสิ่งแวดล้อมเชิงกายภาพเป็นส่วนใหญ่ เริ่มจากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
อากาศบริสุทธิ์
น้ าบริสุทธิ์
ระบบขจัดน้ำโสโครกที่มีประสิทธิภาพ
ความสะอาด
การได้รับแสงสว่างอย่างเพียงพอ
ไนติงเกลมีความเชื่อว่า ธรรมชาติเท่านั้นเป็นผู้รักษาเยียวยา
แพทย์ทำหน้าที่ตัดแขน ขา อวัยวะที่เป็นปัญหาหรือสูญเสีย
หน้าที่เท่านั้น ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นผู้เยี่ยวยา
มโนมติของทฤษฎี ไนติงเกลได้ประมวลสิ่งต่างๆ ขึ้นจากประสบการณ์ตรงในการทำงานและการสังเกตพฤติกรรมของแพทย์,พยาบาล ดังตัวอย่างที่ปรากฏในหนังสือ Notes on Nursing
• “ในบางระยะของการเจ็บป่วย ความร้อนของร่างกายจะลดต่ำลง
ความร้อนของร่างกายที่ลดต่ำลงเรื่อยๆ แสดงถึงการสูญสิ้นของพลังชีวิต
• “เราสามารถคาดการณ์ได้ว่า ผู้ที่มีร่างกายอ่อนแออยู่แล้ว จะทุกข์จากความหนาวเย็น
• “กิจกรรมใดก็ตาม ทีผู้ป่วยสามารถท าได้ด้วยตนเอง จะลดความวิตกกังวล
• “คนสุขภาพปกติ ถ้าพักผ่อนในเวลากลางวันแล้วตอนกลางคืนอาจนอนไม่หลับเลย ตรงข้ามกับคนป่วยโดยทั่วไปป ยิ่งนอนมากเท่าไร ก็จะสามารถพักผ่อนได้เต็มที่มาก
ปัจจัยสำคัญในการรักษาโรคจัดห้องอย่างมีชีวิตชีวา การใช้แสงสว่างให้เพียงพอ
มโนมตินี้ สามารถทำการศึกษาอย่างต่อเนื่องได้ เช่น ความวิตกกังวล ความทุกข์ทรมาน ภาวะนอนไม่หลับสะท้อนให้เห็นบทบาทของพยาบาล เช่น การให้คำปรึกษา การลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย การรักษาไว้ซึ่งความมีพลังภายในร่างกาย
การประยุกต์ทฤษฎีกับกระบวนการพยาบาล
การพยาบาลจะเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดล้อมและการคงไว้ซึ่ง
พลังชีวิตเพื่อให้กระบวนการหายจากโรค หรือ กลับฟื้นคืนชีพ
เห็นความแตกต่างระหว่างการพยาบาลกับการแพทย์
การพยาบาลที่เกิดขึ้น มุ่งไปที่บุคคลที่ประสบภาวะเจ็บป่วย หรือเป็นโรค
โรค เป็นกระบวนการกลับฟื้นคืนสภาพ ( Reparative process )
การสังเกตอย่างถี่ถ้วน มีเหตุมีผล การใช้สามัญสำนึก
การหายจากโรคเป็นกลไกของธรรมชาติในตัวผู้ป่วยเอง
หน้าที่ของพยาบาลคือ ส่งเสริมสนับสนุนให้กระบวนการ
หายจากโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลตามทฤษฎีของไนติงเกล
2.ขั้นตอนวินิจฉัยทางการพยาบาล
เน้นที่ความต้องการของผู้ป่วย และระดับพลังชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม
ยึดความต้องการของผู้ป่วยเป็นสำคัญ โดยสาเหตุหรือที่มาของความต้องการจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เพียงพอ หรือไม่เหมะสม
1.ขั้นตอนการประเมินผล
1.1 สภาพและผลของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่อผู้ป่วย: การสังเกตการจัดกลุ่มข้อมูล
1.2 อาหารและเครื่องดื่ม
1.3 ระดับความวิตกกังวล หรือความตื่นตัว
1.4 ผลของความเจ็บป่วยต่อภาวะจิตใจ
3.ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล
ยึดหลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม และการสื่อสารกับผู้ป่วย เพื่อวางแผนร่วมกัน
4.ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการพยาบาลและสิ่งแวดล้อม ให้สอคล้องกับความต้องการของผู้ป่วย
5.ขั้นตอนการประเมินผล
ใช้หลักการสังเกต ประเมินผลจากผลที่เกิดขึ้น ในตัวผู้ป่วย ที่สืบเนื่องจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลสิ่งแวดล้อม