Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อการส่งเสริและพัฒนาการเกษตร…
หน่วยที่ 14
การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัยเพื่อการส่งเสริและพัฒนาการเกษตร
:red_flag:
แนวคิด องค์ประกอบและตัวอย่างของการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การสร้างนวัตกรรม
- ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการวิจัย
และพัฒนาการวิจัยและพัฒนา
1.ตลาด
2.เทคโนโลยี
3.ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
- ประโยชน์ของการวิจัยและพัฒนา
ช่วยหาคำตอบที่เป็นการแก้ปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ เพื่อเกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ เกิดวิสัยทัศน์/โลกทัศน์ร่วมกัน เพื่อการพัฒนาได้ถูกจุด และเป็นทางเลือกที่เหมาะสม
- ความหมายการวิจัยและพัฒนา
การวิจัยที่กำหนดผลลัพธ์เป็นการออกแบบ/จำลองโมเดลที่ใช้กลยุทธ์เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ ถูกการนำมาพัฒนาเพื่อเพิ่มรายได้ คุณภาพชีวิต โอกาสใหม่ๆ
- คุุณลักษณะที่พึงปราถนาของการวิจัยและพัฒนาแลัอุปนิสัยที่จำเป็นของนักวิจัย
4.มีสถานการณ์ที่อาจจะพลิกผันเปลี่ยนแปรในการทำการวิจัยและพัฒนาในประเด็นสำคัญ
4.ลักษณะที่สำคัญของการวิจัยและพัฒนา ที่มีคุณค่าความสร้างสรรค์
3.กลยุทธ์
2.มีประเด็นสำคัญของความคิด เน้น2focus
1.คุณลักษณะที่พึ่งปราถนาในการที่วิสาหกิจชุมชนเข้าสู่เครือข่ายธุรกิจ
-
ตัวอย่างการวิจัยและพัฒนาด้านเกษตร
น้ำพริกเผามังคุด ด้วยภูมิปัญญาของกลุ่มเกษตรกรแม่บ้านปลายคลอง จันทบุรี เกษตรกรสามารถทำการวิจัยและพัฒนาอย่างง่ายๆ เพื่อสร้างความเข้มแข็งกับคนในชุมชนในการพัฒนาแบบยั่งยืน
:red_flag:
แนวคิด กระบวนการและเครื่องมือพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักเพื่อตอบโจทย์
- แนวคิดพื้นฐานของการสร้างแบบจำลองใช้เทคนิคที่เหมาะสม
องค์ประกอบพื้นฐานการสร้างแบบจำลอง
มีกรอบแนวคิดทางทฤษฎีที่มีความเหมาะสมในการเป็น ธงนำ
มีการออกแบบการวิจัยและใช้เทคนิคที่เหมาะสม
การพัฒนาแบบจำลองต้องผ่านการกลั่นกรอง ตรวจสอบ
ลักษณะการทำนาย
กระบวนการกำหนดแนวคิดการสร้าง แบบจำลองด้วยการเคลื่อนไหวอย่างมีระบบ
กระบวนการสร้างประสิทธิภาพในการทำงาน
- แนวคิดของแบบจำลอง/โมเดล
ชนิดของแบบจำลอง
เกมการบริหาร
แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์
แบบจำลองอะนาล็อก
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
แบบจำลองทางกายภาพหรือเสมือนจริง
การจำลองแบบ/การจำลองสถานการณ์
การเลือก "แบบจำลอง"เพื่อการทำแบบจำลองให้เป็น "ต้นแบบ"
- กระบวนการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
กระบวนการสร้างการจำลองแบบ/จำลองการณ์
เป็นกระบวนการออกแบบแบบจำลองของระบบงานจริง แล้วดำเนินการทดลองใช้แบบจำลองนั้นเพื่อการเรียนรู้
กระบวนการพัฒนาและกำหนดกรอบแบบจำลอง
กระบวนการสร้างแบบจำลองให้ใกล้เคียงกับระบบที่เกิดขึ้นจริงให้มากที่สุด
การวิเคราะห์ระบบเพื่อกำหนดกำหนดกรอบการสร้างแบบจำลองให้เหมาะสม
พื้นฐานกระบวนการสร้างแบบจำลองทางสังคมศาสร์
กระบวนการพัฒนาและกำหนดกรอบแบบจำลอง
กระบวนการสร้างแบบจำลองให้ใกล้เคียงกับระบบที่เกิดขึ้นจริงให้มากที่สุด
การวิเคราะห์ระบบเพื่อกำหนดกรอบการสร้างแบบจำลองให้เหมาะสม
พื้นฐานกระบวนการสร้างแบบจำลองทางสังคมสาสตร์
กระบวนการตรวจสอบและทดสอบเพื่อปรับแก้แบบจำลอง
การทดสอบ
กระบวนการปรับแก้เพื่อให้เป็นแบบจำลองที่สมบูรณ์
ตรวจสอบ
- กระบวนการสร้างแบบจำลองที่จะนำไปสู่การวิจัยและพัฒนา
วิสัยทัศน์ที่ชัดเจน
กระบวนการสืบค้นข้อมูลที่จำเป็นในการกำหนดแบบจำลองและกลยุทธ์ โดยข้อมูลต้องเป็นข้อเท็จจริง จะต้องมีการดำเนิน สืบค้น ถูกต้อง สังเคราะห์ข้อมูลด้วยการจัดหมวดหมู่ ข้อมูลต้องวัดผลได้มากสุด
- กลุุุ่มของเทคนิค และเครื่องมือเพื่อการขับเคลื่อนให้ตอบโจทย์
การวิเคราะห์เพื่อประเมินค่า
กลุ่มกำหนดแบบจำลองและจำลองแบบ
กลุ่มการแก้ปัญหาปัญหา
กลุ่มการสร้างแบบจำลองความเป็นเลิศทางธุรกิจ
กลุ่มการกำหนดประเด็นปัญหาและหาเหตุผล
กลุ่มการจัดการรับมือการเปลี่ยนแปลง
กลุ่มการสร้างกลยุทธ์
กลุ่มเทคนิคการสร้างกลยุทธ์เชิงปริมาณ
- เทคนิคและเครื่องมือการกำหนดประเด็นปัญหาและหาเหตุและผล
สนทนากลุ่ม/การอภิปรายกลุ่มแบบเจาะจง
สุนทรียสนทนา
วิธีการระดมพลังสมอง
เวิร์กชอป
เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุ
:red_flag:
การวิเคราะห์โอกาสการสร้างนวัตกรรมด้วย
การวิจัยและพัฒนาขององค์กรชุมชน
- โอกาสและยุทธศาสตร์เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
โอกาสและยุทธศาสตร์เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรของเครือข่ายในชุมชน
3.ทิศทางการส่งออกอาหารสำเร็จรูปของไทยให้เพิ่มต่อเนื่อง
4.แน้วโน้มความต้องการของสากล
2.การเปลี่ยนแปลงของ "การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของวไทย
1.การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากในช่วงปี 2559-60 มีปัจจัยที่จะทำให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาเน้นอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร
- ตัวอย่างนวัตกรรมการเกษตรจากการวิจัยและพัฒนา
ตัวอย่างที่ดีจากเอสเอ็มอีรายย่อยด้านเทคโนโลยีการเกษตร
ตัวอย่างที่ดีจากเอสเอ็มอีรายย่อยรับจ้างวางระบบบำบัดน้ำเสีย
ตัวอย่างการปฏิบัติที่ดีจากเอสเอ็มอีรายย่อย
ตัวอย่างที่ดีจากเอสเอ็มอีที่มีลักษณะเป็นกลุ่มเครือข่ายธุรกิจ
การยกระดับความสามารถของเกษตรกรเป็นการยกระดับรายได้ ความเป็นอยู่นำไปสู่ความมั่นคงมั่งคั่งความยั่งยืนของไทย
กลุ่มธุรกิจ เป็นเครื่องมือ และกลไกลสำคัญในการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน
การสังเคราะห์สรุปคุณลักษณะและอุปนิสัยเพื่อการสร้างนวัตกรรมเกษตรและอาหารด้วยการวิจัยและพัฒนา
แนวคิดของคุณลักษณะ
การปรับปรุง ปรับเปลี่ยน ที่เป็นความรู้และทักษะที่ได้มาในภายหลัง
- การสร้างนวัตกรรมของการวิจัยและพัฒนาของเครือข่ายในชุมชน
นวัตกรรมการเกษตร
และอาหาร
นวัตกรรมอาจเกิดจาก ตวามรู้/เทคโนโลยีใหม่ๆ และการสร้างนวัตกรรมขององค์กรเครือข่าย/วิสาหกิจชุมชน
การพัฒนานวัตกรรม
กระบวนการสำคัญหลักในการปรับรากฐานความคิดขององค์กรชุมชนด้านส่งเสริมการเกษตรเพื่อเป็นเครือข่ายธุรกิจ
1.เป็นกระบวนการเริ่มต้นของทิศทางของการบรรลุเป้าหมายการสร้างนวัตกรรม
2.ปัจจัยหลักของกระบวนการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
3.รากฐานการสร้างนวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
กระบวนการการเตรียมการดำเนินการวิจัยฯ
การเลือกสรรวิธีการเหมาะสมและยืดหยุ่น
ปัจจัยสำคัญในการคัดสรรวิสาหกิจชุมชน
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กร/ชุมชน
:silhouette:นางสาววิไลลักษณ์ ลำดวน
รหัส 2629001815
วิชา 91723