Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), : - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ความสามารถในการมีบุตร
อายุ
เพศหญิง 21-25ปี ความสามารถในการมีบุตรมีได้สูง
เพศชาย อายุมากกว่า55ปี จะมีความปิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธุ์
คือ อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดีเเละเเข็งเเรงกว่าอสุจิที่สร้างมานานเเละมีชีวิตอยู่ได้ในท่อนำไข่ของฝ่ายหญิงได้ประมาณ 2วัน ดังนั้นความถี่ของการมีเพศวัมพันธุ์ที่เหมาะสมคือ 2-3ครั้งต่อสัปดาห์
ความสามารถในการมีบุตรยาก
ในเพศหญิง
การตรวจร่างกาย
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีเเละช่องคลอด ได้เเก่ PV,Wet smear,Culture
ตัวมดลูก ได้เเก่ PV,Hysterosalpingogram,Endrometrium biopsy,Hysteroscopy,U/S
คอมดลูก ได้เเก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
ท่อนำไข่ ได้เเก่ CO2 insufflationหรือ Rubin test,Hysterosalpingogram,Laparoscope
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary,Thyroid)
เช่น Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก เเละอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
ร้อยละ 30-50 ส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัใพันธุ์ ไส้ติ่งอักเบ การทำเเท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
การส่องกล้อง
ตรวจในอุ้งเชิงกราน
ตรวจโพรงมดลูก
การตรวจอื่นๆ
การตรวจเยื่อผังผืดในช่องเชิงกราน
การตรวจภูมิต้านทานของตัวอสุจิ
การตรวจเต้านม
การตรวจรังไข่
ทางรังสีเอ็กซ์เรย์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้เเก่กาารตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระเเสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล เจาะเลือดเพื่อตรวจในชวง1สัปดาห์ก่อนที่มีประจเดือน
การอ่านผล มากกว่า 5 micro/dl=มีการตกไข่ เเละมากกว่า 10 micro/dl=มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
การตรวจปัจจัยด้านปากมัดลูกหรือการทำ postcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function test
ไม่มีหลักฐานว่ามีประโยชน์ต่อการดุเเลรักาา จึงไม่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน
การซักประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การเเจ่งงานเเละการมีบุตร การมีเพศสัมพันธูื การคุมกำเนิดเป็นต้น รวมไปถึงการได้รับยาหรือสารเคใร สารรังสีต่างๆเเละการได้รับอุบัติเหตุ
การทำ Post coital test
เพื่อดูปากมดลูกเเละดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่มดลูก ระยะที่เหมาะสมในการตรวจได้เเก่ 1-2วันก่อนตกไข่
ในเพศชาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
ค่าปกติของน้ำอสุจิ,ปริมาณน้ำเชื้อ (Vol), ค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH), จำนวนอสุจิต่อซีซีCount/cc, การเคลื่อนไหว (Motility), ลักษณะรูปร่าง (Morphoiogy), การมีชีวิต(Viability)
การตรวจอสุจิ
งดการมีเพศสัมพันธุ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน1ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
ไม่เเนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธุ์ก่อนเเล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายตัวอสุจิได้
การตรวจร่างกาย
กาาตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธุ์ เช่นหนังหุ้มปลายองคชาตลักษณะเเละรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตเช่น โรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธุ์ โรคเบาหวาน โรคระบบต่อมไร้ท่อ ลักษณะนิสัยบางประการ(การดื่มสุรา การสูบบุหรี่)
รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
การได้รับยารักษา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธุ์ ความถึ่ในการมีเพศสัมพันธุ์
การได้รับอุบัติติเหตุเเละการผ่าตัด การได้รับการกระทบกระเทือน ที่อวัยวะสืบพันธุ์
สาเหตุ
สาเหตุจากฝ่ายชาย (Male infertility)
Other ร้อยละ 10
ภาวะทางด้านจิตใจเช่นความเครียด ความวิตกกังวลก็เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะการมีบุตรยากได้
Sexual factors ร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction, remature dysfunction
Sperm dysfunction ร้อยละ 80 เช่นเชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
สาเหตุจากฝ่ายหญิง (Female infertility)
Endrometriosis ร้อยละ 20
Immunological ร้อยละ20
ท่อนำไข่ ร้อยละ 30
การทำงานของรังไข่ผิดปกจิ ร้อยละ 40
Other ร้อยละ 5
ความหมาย
ประเภทของภาวะมีบุตรยาก
ภาวะมีบุตรยากเเบบทุติยภูมิ (Secondary infertility)
ความหมาย คือการมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการเเท้ง หรือการคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภือีกเลยเป็นระยะเวลานานกว่า12เดือน
ภาวะมีบุตรยากเเบบปฐมภูมิ (Primary infertility)
ความหมาย คือการที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์หลังจากที่ได้พยายามเเล้วเป้นระยะเวลานานกว่า12เดือน
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ ดดยที่มีความสัมพันธุ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอเเละไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา1ปีหรือระยะเวลา6เดือนในกรณีคู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35ปีขึ้นไป
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาเเบบขั้นต้น(Conventional)
เป็นการรักษาที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายมากได้เเก่ การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธุ์ การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม
การใช้เครื่องฉีดเชื้ออสุจิเข้าสู่อวัยวะสืบพันธุ์ของสตรี ในช่วงที่ตกไข่ เชื้ออสุจิอาจเป็นของสามี หรือผู้บริจาค วิธีเหมาะสมกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนเเอ
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemination(IUI) Artificial insemination
ความหมาย
คือการนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดเเยกมาฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ ตัวอสุจิจะว่ายจากโพรงมดลูกไปทางท่อนำไข่เเละผสมกับไข่ด้วยตัวเอง
วิธีการนี้ไม่เหมาะสมกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตัน หรือมีผังผืดขวางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่,ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่,ผู้ชายที่มีปัญหาน้ำอสุจิน้อยเคลื่อนไหวผิดปกติ
ภาวะมีบุตรยากโดยไม่ทราบสาเหตุ
ความหมาย
คือคู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากเเล้วจนครบมาตรฐานเช่น การประเมินการตกไข่ การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิเป็นต้นเเต่ไม่พบความผิดปกติโดยพบได้ร้อยละ 10-15ของคู่สมรสทั้งหมด
Micromanipulation
ความหมาย
วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมักจะมีปัญหาทางด้านเชื้ออะสุจิจำนวนน้อยมากเเละไม่เคลื่อนไหว
ICSI(Intracytoplasmic Sperm Injection)
ความหมาย
คือการฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรงซึ่งทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง หลังจากเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น เนื่องจากวิธีนี้ทำให้อสุจิไม่ต้องว่ายไปหาไข่ ไม่ต้องเจาะผนังเซลล์ไข่เอง ทำให้อสุจิที่ไม่เเข็งเเรงสามารถที่จะปฏิสนธิกับไข่ได้(เหมาะสมกับคนที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ)
วิธีการทำ
ทำโดยการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะเข้าไปเเล้วใส่ที่ Ooplasm โดยตรง
เหมาะสมกับ
เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาจำนวนอสุจิน้อยมากๆ หรืออสุจิมีโครงสร้างผิดปกติมาก
คู่สมรสเเต่งงาน3ปียังไม่มีบุตร
ฝ่ายหยิงเคยบันทึก basal body temperature พบกราฟมีการเปลี่ยนเเปลงอุณหภูมิวันที่14-15ของทุกเดือน ลักาณะมูกที่ปากมดลูก เหนียวใส ยืดได้มาก ท่อนำไข่ปกติ
ฝ่ายชายตรวจอสุจิ 10ล้านตัว/ซีซี มีการเคลื่อนไหว 60%
ข้อบ่งชี้ในการทำ
ตัวอสุจิน้อยมาก (Oligozoospermia)
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี(Asthenozoospermia)
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ(Teratozoospermia)
คู่สมรสที่ผ่านการทำการปฏิสนธินอกร่างกายเเล้ว ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
วิธีการทำ
โดยการใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ เเล้วให้อสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะหรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่หรือเเม้เเต่การฉีดเชื้ออสุจิเข้า Ooplasmโดยตรง
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร (assisted reproductive technologies:ART)
การกระตุ้นการตกไข่โดยการให้ GnRH เป็นระยะ กระตุ้นการผลิต FSH เเละLH หรือให้ยาซึ่งเป็นฮอร์โฒน
GIFT(Gamete Intrafallopain Transfer)
ความหมาย
คือการนำไข่เเละอสุจิไปใส่ในท่อนำไข่หลังจากกนะตุ้นให้ไข่สุกก็จะดูดออกมาเเล้วนำไข่ที่ได้ 3-4ใบมารวมกันกับตัวอสุจิที่ผ่านการคัดเเยกแล้วจากนั้นฉีดผ่านเข้าไปในท่อนำไข่ทันทีเป็นการเลียนเเบบธรรมชาติเเละฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อนำไข่ที่ปกติอย่างน้อง1ข้าง
วิธีการทำ
นำเอาไข่ออกมาเลือกที่สมบูรณ์เเล้วนำเครื่องมือที่นำอสุจิเเลัเซลล์ไข่ใสไปในท่อนำไข่เพื่อให้มีการผสมเเละตั้งครรภืเเบบธรรมชาติ เเต่ในกรณีนี้ต้องไม่มีปัญหาที่ปีกมดลูก
ZIFT(Zygote Intrafallopain Transfer)
วิธีการทำ
คล้ายกับเด็กหลอดเเก้วเเต่ไข่เเละเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมเเล้วจะถูกนำมาผสมกันเเลพเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ1วันถ้ามีการปฏิสนธิก็จำนำกลับไปใส่ในฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่
IVT(In Vitro Fertilization)
ความหมาย
คือการปฏิสนธินอกร่างกายเเละการย้ายตัวอ่อนหรือที่เรียกว่า เด็กหลอดเเก้ว
วิธีการทำ
คล้ายกับการทำกิ๊ฟต์เเต่ไข่เเละเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมตัวเเล้วจะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธิกันนอกร่างกายโดยเพาะเลี้ยงในห้องปกิบัติการ เพื่อให้มีการเเบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ4-8เซลล์เเละใช้เวลาเลี้ยง4-5วันจากนั้นนำไปใส่ในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบดตต่อไป
การเก็บไข่
เก็บโดยการเเทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่สามารถเห็นได้จากการทำ U/Sหรือผ่านทางหน้าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม
โดยการหลั่งภายนอกเลือกตัวที่เเข็งเเรงเท่านั้น ซึ่งถ้าต่องการเก็บไว้ใช้ภายหลังสามารถเก็บไว้ได้ในโตรเจนเหลวเป็นเวลาหลายปีโดยไม่เสื่อมสภาพ
ข้อบ่งชี้
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกรานซึ่งขัดขวางการเดินทางของไข่เข้าสู่โพรงมดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกที่เจริญผิดที่
ท่อนำไข่ตีบตัน
ความผิดปกติของปากมดลูก
ความผิดปกติของการตกไข่
สาเหตุจากฝ่ายชาย
ภาวะมีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ
: