Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 วิทยาการทางระบาดวิทยา(Epidemiology), นางสาวชนม์นิภา รอดภัย…
หน่วยที่ 3 วิทยาการทางระบาดวิทยา(Epidemiology)
ปัจจัยสามทางระบาด(Epidemiological triad)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวก่อโรค(Agent)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม(Environment)
ปัจจัยเกี่ยวข้องกับคน(Host)
การกระจายตัวของโรค(Distribution)
สถานที่(Place)
บุคคล(P)
เวลา(Time)
บุคคล(Person)
ดัชนีอนามัย
ดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการตาย
อัตราตายอย่างหยาบ(Crude death rate),อัตราตายจำเพาะ(Specific death rate),สัดส่วนสาเหตุการตาย(Proportional mortality rate),อัตราป่วยตาย(Case fatality rate)
ดัชนีอนามัยอื่นๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ
อัตราเกิดอย่างหยาบ(Crude birth rate),อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไป(General fatlity rate),ดัชนีชีพ(Vital index),อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ(Natural increase),อัตราคุมกำเนิด(Birth control rate),อายุไขเฉลี่ย(Life expectancy)
ดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการป่วย
อัตราอุบัติการณ์ของโรค(Incidence rate),อัตราความชุกของโรค(Prevalence),อัตราป่วยระลอกแรก(Primary attack rate),อัตราป่วยระลอกสอง(Secondary attack rate),อัตราป่วยจำเพาะ(Specific rate),สัดส่วนสาเหตุการป่วย(Proportional morbidity rate)
ดัชนีอนามัยรวม
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา(Epidemiological study design)
องค์ประกอบของการศึกษาทางระบาดวิทยา
การศึกษาเกี่ยวกับประชากร
การศึกษาการกระจายของโรค
การศึกษาเกี่ยวกับสภาวะในตัวบุคคล
การศึกษาสาเหตุของโรค
การศึกษาเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
การป้องกันและการควบคุมโรค
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา(Descriptive Epidemiology)
การศึกษาถึงความเป็นจริงของการเกิดโรคหรือปัญหาสุขภาพ โดยการวิเคราะห์สภาพการเกิดโรค จำแนกตามชนิดของโรค ลักษณะบุคคลที่ป่วยด้วยโรคนั้น ลักษณะของสถานที่ที่พบโรคนั้นมาก และช่วงเวลาที่พบโรคนั้นมาก
วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์(Analytical epidemiology)
การศึกษาอย่างมีระบบ เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรค อาจเป็นปัจจัยที่เป็นสาเหตุ หรือปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดโรค การศึกษารูปแบบนี้ต้องมี"กลุ่มเปรียบเทียบ"
การศึกษาเชิงทดลอง
(Experimental study)
เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุของโรค และวิธีการป้องกันและควบคุมโรค ตลอดจนประสิทธิภาพของยาและวัคซีน
วิทยาการระบาดเชิงปฏิบัติการ
(Operational epidemiology)
การนำความรู้ที่ได้จากวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาและวิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์ มาใช้ในการวางแผนและดำเนินการควบคุมโรค
รูปแบบการศึกษา
การศึกษาย้อนหลัง(Retrospective study)
การศึกษาไปข้างหน้า(Prospective study)
การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง(Cross-sectional study)
การศึกษาย้อนหลังและไปข้างหน้า(Retrospective-Prospective study)
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา เชิงวิเคราะห์(Analytical epidemiological)
Cohort study : ศึกษาจากเหตุไปผล สามารถวัดความเสี่ยงในการเกิดโรคได้โดยตรง
การวิเคราะห์ Relative risk/Risk ratio(RR) : ความเสี่ยงสัมพัทธ์
Case-control study : ศึกษาจากผลไปเหตุ เปรียบเทียบ "อัตราส่วนการได้รับปัจจัยต่อการไม่ได้รับปัจจัย
การคำนวณ Odds คือ โอกาสของการเกิดเหตุการณ์(มีปัจจัย) เทียบกับโอกาสของการไม่เกิดเหตุการณ์(ไม่มีปัจจัย)
Cross-sectional study : สุ่มเลือกขนาดตัวอย่างเปรียบเทียบว่า"ความชุกของโรค"ในกลุ่มที่มีปัจจัยที่ศึกษาว่าแตกต่างจากกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยนั้นหรือไม่
แนวทางการป้องกันและควบคุมโรค
การนำออก ขจัด หรือควบคุมขอบเขตของสาเหตุหรือแหล่งแพร่เชื้อโรค
การตัดวงจรของลูกโซ่การติดต่อของเชื้อ
การป้องกันบุคคลที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันโรค
หลักการระบาดในการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
การติดตามผู้สัมผัส(Contact tracing)
การแยกกัก(Isolation)
การหยุดยั้ง/สกัดกั้น(Containment)
การกักกัน(Quarantine)
การให้สุขศึกษา(Health education)
การคัดกรอง(Screening)
การทำลายเชื้อ(Disinfection)
การทำลายแมลงสัตว์นำโรค(Disinsection)
ธรรมชาติของการเกิดโรค(Natural history)
ระยะก่อนมีอาการของโรค(stage of pre-clinical disease)
ระยะตั้งแต่รับเชื้อเข้าร่างกายจนสามารถแพร่เชื้อได้ "Latent period"
ระยะมีอาการของโรค(stage of clinical disease)
ระยะเวลาจากเชื้อเข้าสู่ร่างกายจนถึงแสดงอาการชัดเจนนี้เรียกว่าระยะฟักตัว "Incubation period"
ระยะมีความไวต่อโรค(stage of susceptibility)
ระยะเสี่ยง มีปัจจัยที่ส่งเสริมให้ร่างกายมีความไวต่อการเกิดโรค
ระยะมีความพิการของโรค(stage of disability)
ระยะหลังจากที่มีอาการของโรคแล้ว
การเกิดโรคในชุมชน(Occurrence of disease)
Pandemic : โรคที่ระบาดที่ขยายวงกว้างไปหลายประเทศ หลายทวีป
Sporodic : โรคที่ติดต่อกันนานครั้ง ไม่ติดต่อตลอด
Epidemic : โรคที่เกิดระบาดขึ้นมากผิดปกติ จากที่เคยเป็นอยู่
Endemic : โรคที่เกิดขึ้นเป็นประจำในท้องถิ่น กลุ่มคน เป็นการเกิดโรคที่ซ้ำกันเป็นระยะเวลานาน
Outbreak : การเกิดโรคชนิดหนึ่งชนิดใดกับบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยลักษณะของการเกิดโรคมีความสัมพันธ์กันในลักษณะเวลาของการได้รับเชื้อ ได้รับสาเหตุของโรคจากสถานที่เดียวกัน
หลักการเฝ้าระวังและการสอบสวนทางระบาดวิทยา(Epidemiological surveillance and investigation)
รูปแบบของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
Active surveillance : จัดตั้งระบบเฝ้าระวังขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสที่จะได้ข้อมูลเพิ่มขึ้น เป็นการค้นหาการเกิดโรคเชิงรุก
Special surveillance : ระบบเฝ้าระวังที่ตั้งขึ้นเพื่อค้นหากาเกิดโรคใหม่ๆ หรือโรคที่มีอยู่ที่มีแนวโน้มจะเกิดมากกว่าปกติ
Passive surveillance : ระบบเฝ้าระวังที่มีการรายงานเป็นปกติ(Routine reporting)
Sentinel surveillance : ระบบที่มีจุดมุ่งหมายคล้าย Special surveillance แต่ต้องการให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากขึ้นและมีความรวดเร็ว
ขอบเขตของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังการป่วย(Morbidity)
การเฝ้าระวังการตาย(Mortality)
การเฝ้าระวังการระบาด(Outbreak)
การเฝ้าระวังการใช้วัคซีน ยาและเซรุ่ม
การเฝ้าระวังปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค(Disease determinants)
หลักการสอบสวนการระบาดของโรค
ใช้หลักการระบาดวิทยาเชิงพรรณนา : What ,When,Where,Who
ใช้ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ : How,Why
ขั้นตอนการสืบสวนการระบาดของโรค
ตั้งสมมติฐานของการระบาด
ใช้แบบสอบถามเพิ่มเติมบางประการเพิ่มเติม
วิเคราะห์และสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นในแง่ของ Time,Person and Place
ยืนยันสาเหตุของโรคจากผลการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ
รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาพรรณนาที่เกี่ยวข้องกับการระบาดครั้งนี้จากข้อมูลที่มีอยู่
ดำเนินการควบคุมโรค : ทำลายแหล่งเชื้อโรค ขัดขวางการแพร่กระจายของเชื้อโรค เพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้มีภูมิไวรับ
เขียนรายงานพร้อมแนะนำวิธีป้องกันการระบาดที่อาจเกิดขึ้นในลักษณะนี้
นางสาวชนม์นิภา รอดภัย ชั้นปีที่ 3 ห้อง B เลขที่ 37 รหัส 601216037