Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 โรคหอบหืด (Asthma) นางสาวศรินญา เมฆฉาย รหัสนักศึกษา…
กรณีศึกษาที่ 1 โรคหอบหืด (Asthma) นางสาวศรินญา เมฆฉาย รหัสนักศึกษา (603101091)
สาเหตุ
ตามทฤษฎี
ปัจจัยภายในร่างกาย (Intrinsic)
พันธุกรรมการติดเชื้อทางเดินหายใจการใช้ยาระงับประสาทหรือยาแก้ปวดรวมทั้งความเครียดความกลัวความโกรธ
ปัจจัยภายนอกร่างกาย (extrinsic)
การแพ้เกสรดอกไม้ อาหารยาขนสัตว์
มีการกระตุ้น most cell ให้มีการหลั่ง histamine ทำให้มีการหดเกร็งของหลอดลมเยื่อบุหลอดลมบวมมีเสมหะมากขึ้นทำให้เกิดอาการหายใจลำบาก
ตามกรณีศึกษา
เป็นแม่บ้าน
เป็นหอบหืดตั้งแต่เด็ก
รักษาไม่ต่อเนื่อง มีอาการครั้งสุดท้ายเมื่อปีที่แล้ว ไม่มียารับประทานประจำ
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
หายใจลำบากมีเสียง wheezing อาจมีการใช้กล้ามเนื้อส่วนอื่นช่วยในการหายใจ อาการไอ หายใจเร็วเหงื่อออกอ่อนเพลีย
ตามกรณีศึกษา
มีอาการครั้งสุดท้ายเมื่อปีที่แล้ว
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติการเป็นโรคหอบหืด
การแพ้ยาสารเคมีอาหารหรือสิ่งต่างๆ
เคยมีอาการและอาการแสดงของโรคหอบหืด
การตรวจร่างกาย
จะพบชีพจรเต้นเร็วตรวจครรภ์จะพบขนาดของมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์เป็นต้น
ตามกรณีศึกษา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
VDRL non-reactive, HbsAg negative, Blood group B Rh positive, Hct 36%
ผลตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย
หญิงตั้งครรภ์และสามี OF negative DCIP negative
การป้องกันและการรักษา
1.หาสาเหตุหรือปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดอาการของโรค
การติดเชื้อการสัมผัสสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้แนะนำให้หลีกเลี่ยงปัจจัยส่งเสริมเหล่า
2 ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอโดยรักษาค่าออกซิเจนในเลือด (arterial blood gas)
ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจต้องเสเครื่องช่วยหายใจและให้ corticosteroid
การให้ยาขยายหลอดลมยาที่นิยมใช้และมีความปลอดภัยสูงคือ terbutaline และ Isoproherenol
แต่เนื่องด้วย terbutaline มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูกดังนั้นในระยะคลอดควรเท ONutocin เสริมส่วน isoproteranol
ในระยะคลอดควรให้ยาระงับปวดชนิด non-histamine releasing necrotic เช่น fentary
ไม่แนะนำ meperidine หรือ morphine
ในรายที่จำเป็นต้องให้ยาระงับความรู้สึกควรใช้ epidural แทน general anesthesia
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ผลต่อมารดา
แท้งอัตราตายจะสูงขึ้น (30-60%)
ในรายที่มี status asthmaticus คืออาการรุนแรงจนไม่มีการตอบสนองต่อการรักษาเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
pneumothorax หรือ cardiac arrhythmias และมีการหยุดหายใจจากกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนล้า
ผลต่อทารก
การคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักแรกเกิดน้อยเสียชีวิตในครรภ์
ทารกที่เกิดจากมารดาเป็นโรคหอบหืดมีโอกาสเป็นโรคหอบหืดในภายหลังสูงกว่าทารกที่เกิดจากมารดาปกติ 2-4 เท่า
พยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหอบหืด ระยะตั้งครรภ์
รายที่อาการของโรคกำเริบต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ระยะคลอด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอเช่นจัดให้นอนท่าศีรษะสูงหรือให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับขยายหลอดลมยาขับเสมหะหรือยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะการหายใจและสังเกตอาการหายใจลำบาก
ดูแลความสะอาดของร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเพื่อลดโอกาสร่างกาย
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทั้งของมารดาและทารกให้พร้อมใช้พร้อมทั้งรายงานข้อมูลกุมารแพทย์
1.หลีกเลี่ยงจากปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดอาการของโรคหอบหืด
รับประทานอาหารให้ครบหมู่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง
เฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในร่างกายด้วยการรักษาร่างกายให้อบอุ่นดื่มน้ำมากๆ
หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้หรือสัมผัสบุคคลที่เป็นหวัดสังเกตอาการผิดปกติเช่นไอมีเสมหะหายใจลำบากเป็นต้นหากมีอาการควรรีบมาพบแพทย์ทันที
ให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาถ้าใช้ยาแล้วอาการไม่ดีขึ้นควรรีบมาพบแพทย์โดยเร็ว
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์นับการดิ้นของทารกในครรภ์ทุกวันเพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
พยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหอบหืด ระยะหลังคลอด
1.ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับยารักษาโรคหอบหืด อย่างต่อ เนื่อง และใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ในขณะที่ให้นมบุตร
2.จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการส่งเสริมการพักผ่อน ไม่กระตุ้น ให้อาการของโรคกำเริบ
3.ดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดปกติทั่วไปเน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
4.ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในน้ำนมมารดามีIgA สูงจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ที่เกิดจากมารดาเป็น โรคหอบหืดได้ร้อยละ 10
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
ผลการเพาะเชื้อจากเสมหะ
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง