Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การชดใช้ค่าเสียหาย
การชดใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากการกระทำละเมิดให้กับผู้เสียหายตามกฎหมายแพ่ง เรียกว่า ค่าสินไหมทดแทน
กรณีสินทรัพย์เสียหาย
ป.พ.พ มาตรา 438 วรรคสองค่าสินไหมทดแทน
ได้แก่
การคืนสินทรัพย์ที่ผู้เสียหาย สูญเสียไปเพราะการละเมิด หรือใช้ราคาทรัพย์สินรวมค่าเสียหายอันพึงจะบังคบัใหใ้ช้ เพื่อความเสียหายอย่างใดๆอันก่อขึ้น
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ป.พ.พ. มาตรา 443 ค่าสินไหมทดแทนที่จะต้องชดใช้ให้กับทายาท
ได้แก่
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นเกี่ยวกับการปลงศพ เช่น ค่าโลงศพ ค่าธรรมเนียมวัด ค่าบำเพ็ญกุศล
ค่าขาดไร้อุปการะเลี้ยงดู
เช่น บิดามารดา มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตร หรือ บุตรมีหน้าที่ต้องเลี้ยงดูบิดามารดา
คา่ขาดแรงงาน ถ้าผู้ตายมีความผูกพันตามกฎหมาย จะตอ้งทำงานเป็นคุณให้แก่ ครอบครัว หรอืแก่บคุคลภายนอกครอบครัว ผู้กระทำละเมิดต้องชดใช้ ค่าแรงงานในส่วนนีด้ว้ย
ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ก่อนตาย (ถา้มี)
กรณีผู้เสียชีวิตไม่ถึงแก่ความตาย เพียงแต่ได้รับอันตรายแก่กาย
ค่าสินไหมที่ต้องชดใช้ได้แก่
ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
ค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบอาชีพทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต
ค่ารักษาพยาบาลอันจำเป็นแก่อาการ
ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน ค่าเสียหายชนิดนี้มักเรียกว่า “ค่าทำขวัญ”
ความสัมพันธ์ของบุคคล
สัญญา
ฝ่ายหนึ่งจะต้องแสดงเจตนาขึ้นมาก่อน เรียกว่า คำเสนอเมื่ออีก ฝ่ายหนึ่งสนใจคำเสนอนั้นก็จะแสดงเจตนาตอบรับ เรียกว่า คำสนอง เมื่อคำเสนอ และคำสนองตรงกันก็จะเกิดเป็นสัญญาผูกพันคู่สัญญา
ละเมิด
การกระทำหรืองดเว้นการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิของผู้อื่น
องค์ประกอบ
กระทำโดยบุคคลอื่นโดยผิดต่อกฎหมาย
กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ กระทำโดยจงใจ คือกระทำโดยรู้สำนึกและ ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าจะทำให้เกิดความเสียหาย
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย คือ การกระทำนั้นก่อให้เกิดความเสียหายขึ้น ซึ่งอาจเป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อร่างกายหรือทรัพย์สินก็ได้
ผู้ร่วมรับผิดในการกระทำละเมิด
นายจ้างกับลูกจ้าง
บิดามารดากับผู้เยาว์ หรือผู้อนุบาลกับคนวิกลจริต
ป.พ.พ.มาตรา429 กฎหมายกำหนดให้บิดามารดาหรือผู้อนุบาลต้องร่วมรับผิดชอบต่อ ผลของละเมิดที่เกิดขึ้นจากการกระทำของผู้เยาว์หรือคนวิกลจริตที่อยู่ในความดูแลของ ตน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังแล้วตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลซ่ึง ทำอยู่นั้น
ป.พ.พ.มาตรา425กฎหมายก าหนดให้นายจ้างต้องรับผิดชอบกับลูกจ้างในผลของ ละเมิดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติของลูกจ้างในทางการจ้าง
ครูอาจารย์กับผู้ที่อยู่ในความดูแลของตน
ป.พ.พ.430 กฎหมายกำหนดให้ครูอาจารย์ รับผิดชอบต่อผลของการกระทำละเมิดของ บุคคลที่อยู่ในความดูแลของตน ซึ่งได้กระทำลงขณะที่ผู้นั้นอยู่ในความดูแลของตน
ตัวการร่วมรับผิดชอบกับตัวแทน
ป.พ.พ.มาตรา427กฎหมายกำหนดให้ตัวการรับผิดต่อผลการกระทำของตัวแทนซึ่งได้กระทำไปในขอบอำนาจของตัวแทนซึ่งได้รับมอบหมายจากตัวการ
การร่วมกันทำละเมิด
ป.พ.พ.มาตรา432 ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น โดยร่วมกันทำละเมิดท่านว่าบุคคลเหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึงกรณีที่มาสามารถสืบรู้ตัวได้แน่ว่าในจำพวกที่ทำละเมิดร่วมกันนั้นคนไหนเป็นผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้นด้วย
นิติกรรม
คือ
การกระทำของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและสมัครใจมุ่งโดยตรงต่อ การผูกนิติสัมพันธ์เพื่อก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
ป.พ.พ.มาตรา 149 นิติกรรม หมายความว่า การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมาย และด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
องค์ประกอบ
มีการกระทำจะเป็นการกระทำใดๆได้ทั้งสิ้น
การกระทำนั้นโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ขัดต่อกฎหมาย
ประเภท
นิติกรรมฝ่ายเดียว คือ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคลากรฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายเดียว เช่น การทำพินัยกรรม
นิติกรรมสองฝ่าย คือ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สอง ฝ่ายขึ้นไป โดยฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาเป็นคำเสนอและอีกฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาเป็นคำสนองเมื่อคำเสนอและคำสนองตรงกันจึงเกิดมีนิติสัมพันธ์ขึ้นหรือเรียกว่าสัญญา เช่น สัญญาว่าจ้าง สัญญาซื้อขาย
บุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าหย่อนความสามารถในการกระทำนิติกรรม
คนไร้ความสามารถ
คนวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถ
บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้เพราะ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
กายพิการหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ผู้เยาว์
บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คือ ยังมีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
สภาพบังคับของกฎหมาย
โมฆียกรรม
คือ
นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะที่ทำแต่อาจถูกฝ่ายที่เสียเปรียบบอกล้างได้ในเวลาต่อมามีผลให้นิติกรรมนั้นสิ้นสุดลงและตกเป็นโมฆะกรรม โมฆียกรรมเมื่อบอกล้างแล้วให้ถือว่าเป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก
องค์ประกอบที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆียกรรม
นิติกรรมที่ทำขึ้นโดยสำคัญผิดในคุณสมบัติของคู่สัญญา
นิติกรรมทำขึ้นโดยคู่สัญญาหย่อนความสามารถในการทำนิติกรรม
การบังคับชำระหนี้
อาจเป็นการบังคับชำระด้วยเงิน หรือการส่งมอบทรัพย์สินหรือสั่งให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืองดการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับสภาพที่เกิดขึ้น
โมฆะกรรม
คือ
ความสูญเปล่าของนิติกรรม มีผลเสมือนหนึ่งว่าไม่ได้มีการกระทำนิติกรรมนั้นขึ้นและผู้เสียหายก็ไม่มีสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายให้อีกฝ่ายหน่ึงปฏิบัติตาม ข้อผูกพันนั้น
ป.พ.พ.มาตรา150 การใดมีวัตถุประสงค์เป็น การต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายเป็นการพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบ เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ
องค์ประกอบที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆะกรรม
เป็นการพ้นวิสัย คือ เป็นการกระทำในสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้ เช่น ทำสัญญา ชุบชีวิต คนตายให้ฟื้นกลับมา
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น ตกลงให้ยาแก่ผู้ป่วย โรคเอดส์ระยะรุนแรงให้ตายเพื่อให้พ้นทุกข์ทรมาน
ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย คือ กฎหมายห้ามกระทำเช่น ทำสัญญารับจ้างฆ่าคน
การชดใช้ค่าเสียหาย
กฎหมายแพ่งได้รับรองสิทธิให้ผู้ที่ได้รับความเสียหายมีสิทธิ เรียกร้องให้ผู้กระทำผิดชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าสินไหมทดแทนแก่ตนเพื่อให้ผู้ที่ได้รับ ความเสียหายคืนสู่ฐานะเดิมให้ได้ใก้ลเคียงที่สุด
ความรับผิดทางแพ่ง
ความรับผิดตามสัญญา
เป็นความตกลงด้วยในสมัครระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปว่าจะกระทำหรืองดเว้นกระทำกี่อันชอบด้วยกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
คือ
การกระทำรวมถึงการงดเว้นที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตอนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน และสิทธิต่างๆ
หลักสำคัญที่ถือว่าเป็นการละเมิด
กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
การกระทำโดยจงใจทางแพ่ง มิได้หมายความเหมือนกับความหมายของคำว่า “เจตนา” ทางกฎหมายอาญาเสียทีเดียว ตามประมวลกฏหมายอาญาซึ่งบัญญัติว่า “การกระทำโดยสำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผลหรือย่อม เล็งเห็นผลของการกระทำนั้น”
เช่น
การที่ผู้ป่วยพลัดตกจากเตียงโรงพยาบาล ถ้าเป็นเพราะพยาบาลละเลยไม่หมั่นออกตรวจเยี่ยมผู้ป่วยหรือเห็นที่กั้นเตียงถูกดึงลงมา แต่ไม่สนใจจนเกิดเหตุขึ้น เป็นความประมาทเลินเล่อ
การฉีดยาผิดคน การให้ยาคนไข้ผิดคน เจาะเลือดผิดคน
ทำให้บุคคลอื่นเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ค่าขาดไร้อุปการะ
ค่าขาดแรงงาน
ค่าปลงศพ
กรณีผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย
ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
ค่าเสียความสามารถประกอบการงานในอนาคต
ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
หมายถึง
การกระทำผิดกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของอายุความ
คือ
ระยะเวลาของกฎหมายที่กำหนดไว้ บุคคลมีสิทธิเรียกร้องจำต้องใช้สิทธิเรียกร้อง ของตนภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ถ้ามิได้ใช้สิทธิเรียกร้องภายในระยะเวลานั้นแล้ว สิทธิเรียกร้องนั้นย่อมถูกโต้แย้งอันเป็นเหตุให้ศาลยกฟ้องได้หรือเรียกว่า สิทธิแห่งการเรียกร้องนั้นขาดอายุความ
ลักษณะกฎหมาย
เป็นกฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคน โดยที่ความเสียหายในทางแพ่งจะมีผลกระทบต่อบุคคลที่เป็นคู่กรณีเท่านั้น การฟ้องร้องคดีผู้เสียหายจึงต้องฟ้องต่อศาลเองและหากมี การประนีประนอมกันได้ระหว่างดำเนินคดีศาลก็อนุญาตให้ถอนฟ้องคดีได้
นางสาวรติมา มณีคำ รุ่น 36/2 เลขที่ 17 รหัสนักศึกษา 612001097