Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสิ่งเเวดล้อมของไนติงเกล, ดาวน์โหลด (2), 2X1qah, images, ดาวน์โหลด (3)…
ทฤษฎีสิ่งเเวดล้อมของไนติงเกล
ประวัติของมิสฟลอเรนซ์ ไนติงเกล
ท่านต้องการทำประโยชน์ให้เเก่เพื่อนมนุษย์ให้มากที่สุดดังบันทึกที่เขียนไว้เมื่อปี1837 ว่า "พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงรับสั่งกับข้า และโปรดประทานโอกาสเเก่ข้า ได้ทำงานให้พระองค์"
ขณะเกิดสงครามไครเมีย ท่านได้อาสาพยาบาล ไปช่วยดูเเลทหารที่ได้รับบาดเจ็บ จนทำให้สามารถลดสถิติการตายของทหารได้
ท่านให้ความสำคัญต่อสุขาภิบาลสิ่งเเวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ เเละความเจ็บป่วยเป็นอย่างมาก
มิสฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ใช้พื้นฐานทฤษฎีความเครียด การปรับตัว และความต้องการ
มิสฟลอเรนซ์ ไนติงเกล เป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อ 12 พฤษภาคม 1820 เป็นผู้นำคนเเรกของการพยาบาล
อายุ 90ปี ถึงเเก่กรรมขณะนอนหลับอยู่ ในวันที่13 สิงหาคม 1910
การพัฒนาทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล
เป็นความสัมพันธ์ของมนุษย์ กับ สิ่งเเวดล้อม โดยมีสาระสำคัญ คือ
การพยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่ง ซึ่งเเตกต่างไปจากวิชาชีพทางการเเพทย์
กำหนดมโนมติที่เกี่ยวข้องอย่างเด่นชัด
ระบุสัมพันธภาพระหว่างมโนมติ ทำให้มองเห็นแบบจำลองชัดเจน
เป็นเนื้อหาร่วมไปกับการใช้กระบวนการพยาบาล
สิ่งที่ต้องตระหนัก
การใช้เหตุผล และสามัญสำนึก ที่ได้จากประสบการณ์
มโนมติที่สำคัญ
ภาวะสุขภาพและมนุษย์
มนุษย์ คือ ผู้ป่วยซึ่งมารับการรักษาจากพยาบาล
ภาวะสุขภาพ คือ ความสามารถดำรงภาวะสุขภาพด้วยพลังอำนาจของบุคคล การใช้ธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การพยาบาล
การจัดสิ่งเเวดล้อมของผู้ป่วยให้สะอาด เงียบสงบ มีความอบอุ่น มีเเสงสว่างอย่างเพียงพอ จะทำให้ผู้ป่วยมีพลัง
ไนติงเกล เชื่อว่า ธรรมชาติเท่านั้นที่จะเยียวยา
สิ่งเเวดล้อม
มองสิ่งเเวดล้อมเชิงกายภาพเป็นส่วนใหญ่ เริ่มจากใกล้ตัว เช่น อากาศบริสุทธิ์ น้ำบริสุทธิ์ ความสะอาด การได้รับเเสงสว่างอย่างเพียงพอ
การประยุกต์ทฤษฎีกับกระบวนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาลจะเกี่ยวกับการจัดสิ่งเเวดล้อมในขณะนั้นและการคงไว้ซึ่งพลังชีวิตเพิ่อให้กระบวนการพยาบาลหายจากโรค หรือ กลับฟื้นคืนชีพ เป็นไปอย่างมีคุณภาพ
จุดเน้นทฤษฎีทำให้เห็นความเเตกต่างระหว่างการพยาบาลกับการเเพทย์ อย่างชัดเจน เช่น การปฏิบัติการพยาบาลที่เกิดขึ้น มุ่งไปที่บุคคลที่ประสบภาวะเจ็บป่วย หรือเป็นโรค
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลตามทฤษฎีของไนติงเกล
1.ขั้นตอนการประเมินผล
1.2.อาหารเเละเครื่องดื่ม เช่น ผู้ป่วยชอบอาหารแบบไหน
1.3.ระดับความวิตกกังวลหรือความตื่นตัว เช่น ญาติพูดคุยกับผู้ป่วยในลักษณะอย่างไร
1.1.สภาพเเละผลของสิ่งเเวดล้อมทางการพยาบาลต่อผู้ป่วย เช่น การถ่ายเทอากาศเป็นอย่างไร
1.4.ผลของความเจ็บป่วยต่อภาวะจิตใจ เช่น พฤติกรรมเป้นอย่างไร เมื่อมีไข้
2.ขั้นตอนวินิจฉัยทางการพยาบาล
ยึดความต้องการของผู้ป่วยเป็นสำคัญ เช่น ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากความเจ็บปวด
3.ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล
ยึดหลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งเเวดล้อม เช่น ให้ผู้ป่วยได้รับเเสงทุกวัน
4.ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการพยาบาลและสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับผู้ป่วย เช่น จัดหาอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
5.ขั้นตอนการประเมินผล
ใช้หลักการสังเกต ประเมินผลจากผลที่เกิดขึ้นในตัวของผู้ป่วย
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003