Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้อาหารในการบำบัดโรคและการใช้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - Coggle…
การใช้อาหารในการบำบัดโรคและการใช้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคอ้วน
โภชนาศึกษาโรคอ้วน
ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน ลดอาหารที่มีพลังงานสูง กลุ่มแป้ง ไขมัน เกลือ
รับประทานอาหารไขมันต่ำ เลือกดื่มน้ำที่ไม่มีน้ำตาล
เลือกรับประทานอาหารเมนูผ่านการปิ้งหรือนึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น เลือกกินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ หลีกเลี่ยงอาหารพวกมีไขมันทราน
โภชนาบำบัดโรคอ้วน
รับประทานถูกส่วน 2:1:1 แบ่งส่วนอาหารเป็น 4 ส่วน
ธงโภชนาการ
แนะนำสัดส่วนปริมาณอาหารที่ควรบริโภคใน 1 วัน
โรคความดันโลหิตสูง
อาหารที่เหมาะสม
ควบคุมน้ำหนักและลดปริมาณโซเดียม ลดความเค็มในอาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูปและอาหารใส่สารกันเสีย ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ
งดสูบบุหรี่ หรือดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกายสม่ำเสมอหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
โรคมะเร็ง
โภชนาบำบัดโรคมะเร็ง
แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคมะเร็ง
-ลดอาหารไขมัน
-ลดดื่มแอลกอฮอล์
-ไม่รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ
-หยุดหรือควรลดการสูบบุหรี่
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
-อาหารเผ็ด
-ผลไม้ที่มีกรดหรือเปรี้ยวจัด
โรคเบาหวาน
อาหารที่เหมาะสม
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ ลดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ กินโดยควบคุมปริมาณอาหารและพลังงานที่ต้องการแต่ละวัน
เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดี เลือกกินไขมันมันที่ช่วยลดคอเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL)
กินอาหารที่มีแอนตีออกซิเดนซ์ กินอาหารที่มีจุลินทรีย์
โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
อาหารที่มีไขมันในเลือดสูง
อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว
อาหารที่มีไขมันทรานต์
อาหารที่มีคอเลสเตอรอล
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการให้โภชนาบำบัด
แพทย์
พยาบาล
เป็นผู้คัดลอกคำสั่งของแพทย์ หากผู้ป่วยนอนช่วยตอบช่วยเหลือดูแลคนไข้ระหว่างกินอาหาร
นักกำหนดอาหาร
กระบวนการทางโภชนาการบำบัด
การวางแผนการให้โภชนาบำบัด
การดำเนินการโภชนาบำบัด
การประเมินผลโภชนาบำบัด
วิเคราะห์ภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
-การตรวจทางชีวเคมี
-การตรวจร่างกาย
-การวัดขนาดร่างกายของผู้ป่วย
-การซักประวัติ