Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เชาวน์ปัญญา และความถนัด (2) : การวัดเชาวน์ปัญญาและความถนัด - Coggle Diagram
เชาวน์ปัญญา และความถนัด (2) : การวัดเชาวน์ปัญญาและความถนัด
แบบทดสอบเชาวน์ปัญญาในระยะแรก
Francise Galton บิดาการทดสอบทางจิต
เชาวน์ปัญญาเป็นสมรรถภาพของบุคคลในด้านความไว (sensitivity) ต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว
พัฒนาเครื่องมือวัดความไวทางจิต
เครื่องมือแยกแยะความแตกต่างของน้ำหนัก
well-developed judgment skills
ใช้ความคิดอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
ปรับกลวิธีในช่วงการทำงาน
ความสามารถในการกำกับการทำงานของตนเอง
The Standford - Binet Intelligence Scales
ทดสอบเชาวน์ปัญญาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
เพิ่มระดับความยากมากขึ้นในข้อท้าย ๆ
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กอายุ 3-13 ปี
การวัดความสามารถโดยทั่วไป
เรียกช่วงอายุสูงสุดที่เด็กสามารถทำได้นั้นว่า อายุสมอง
มีการใช้คะแนน IQ
คนส่วนใหญ่มีระดับเชาวน์ปัญญาปานกลาง
Devid Wechsler
เชาวน์ปัญญานั้นแสดงออกได้ทั้งที่เป็นภาษา และไม่ใช่ภาษา
แบบทดสอบรายบุคคล
แบบวัดเชาวน์ปัญญาแบบกลุ่ม
การวัดเชาวน์ปัญญา
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงภูมิศาสตร์
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงคอมพิวเตอร์
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงชีวภาพ
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงญาณวิทยา
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงสังคม
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงมานุษยวิทยา
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงระบบ
แบบทดสอบความสามารถ
แบบทดสอบสัมฤทธิผล
วัดสิ่งที่ได้เรียนรู้มาแล้ว
แบบทดสอบความถนัด
วัดความสามารถเฉพาะทาง
ใช้ในการทำนายพฤติกรรมในอนาคต
แบบทดสอบเชาวน์ปัญญา
วัดความสามารถทั่วไป
แบบทดสอบเชาวน์ปัญญาและกลุ่มแนวคิดต่าง ๆ
กลุ่มแนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงภูมิศาสตร์
ระบุความสามารถพื้นฐานของบุคคลที่คาดว่าเป็นความสามารถที่ผู้ที่มีเชาวน์ปัญญาจะทำได้
แบบทดสอบองค์ประกอบเดี่ยว
ประเมินเชาวน์ปัญญาทั่วไป
องค์ประกอบ g ตามแนวคิดของ Spearman
แบบทดสอบเชาวน์ปัญญาวัฒนธรรมเสมอภาค
ใช้ทดสอบกลุ่มบุคคลที่มีภูมิหลังต่างกัน
Progressive Matrices Tests (PM Tests)
พิมพ์เผยแพร่โดย J.G.Raven
ไม่ใช้ถ้อยคำภาษา
วัดความสามารถของบุคคลในการหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปทรงเรขาคณิต
วัดความสามารถทางการใช้เหตุผลอันเป็นองค์ประกอบสติปัญญาโดยทั่วไป ตามทฤษฎีของ Spearman คือ "g"
มี 3 ฉบับ
ฉบับมาตรฐาน
บุคคลอายุ 6 ปี - กลุ่มผู้ใหญ่
ฉบับสี
กลุ่มอายุ 7-11 ปี กลุ่มคนปัญญาอ่อน และคนแก่
ฉบับก้าวหน้า
อายุ 11 ปีขึ้นไป
แบบทดสอบเชาวน์ปัญญาหลายองค์ประกอบและเชาวน์ปัญญาลำดับขั้น
เป็นพื้นฐานของแบบทดสอบที่ใช้ในปัจจุบัน
the Primary Mental Abilities battery : PMA
แนวคิดของ Thurstone
ทดสอบความสามารถพื้นฐานทางสมอง
วัดเชาวน์ปัญญาตามแนวคิดของ Horn และ Catell
Fluid intelligence
Crystallized intelligence
KAIT
ทดสอบเป็นรายบุคคลและไม่มีเวลาจำกัด
วัดเชาวน์ปัญญาบุคคลตั้งแต่อายุ 11-85 ปี
แปลผลเป็นคะแนน IQ
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงคอมพิวเตอร์
วัดกระบวนการทางปัญญาเชิงเดี่ยว
วัดกระบวนการทางปัญญาหลายด้านที่เชื่อว่าเป็นพฤติกรรมทางเชาวน์ปัญญา
มีความสัมพันธ์สูงกับแบบทดสอบแนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงภูมิศาสตร์
Test of Working Memory
ความจำขณะทำงานเป็นกระบวนการทางปัญญาด้านหนึ่งที่เป็นพื้นฐานของเชาวน์ปัญญา
ประเมินความสามารถของบุคคลในการเก็บข้อมูลในความจำ ขณะทำงานทางปัญญาโดยทันทีทันใด
Cognitive Assessment System (CAS)
ประเมินกระบวนการทางปัญญา ที่เชื่อว่าเป็นพื้นฐานของเชาวน์ปัญญา และมีความสัมพันธ์กับพื้นที่บางส่วนในสมอง
การวางแผน
การคงความใส่ใจ
การผสานสารสนเทศ
การลำดับสารสนเทศ
ทดสอบเป็นรายบุคคล
Cognitive Abilities Measurement (CAM) Battery
ประเมินกระบวนการทางปัญญา
ความจำขณะทำงาน
ความเร็วในการประมวลสารสนเทศ
ความสามารถในการเรียนง่าย ๆ
กฎเกณฑ์ง่าย ๆ ในการจัดประเภทข้อมูล
ใช้กับผู้ใหญ่อายุ 18-30 ปี
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงชีววิทยา
ใช้ร่วมกับแบบทดสอบจากทั้งแนวคิดกลุ่มภูมิศาสตร์ทางจิต และแนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงคอมพิวเตอร์
ทดสอบเชาวน์ปัญญาก่อนแล้วจึงตรวจสอบโดยใช้ PET, FMRI และ EEG
เพื่อศึกษาสภาพทางสมองขณะที่บุคคลกำลังกระทำกิจกรรมทางปัญญา
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงญาณวิทยา
ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา (Intellectual Development Theory)
การทดสอบเชาวน์ปัญญา
Sensorimotor stage
ให้เด็กทารกหาสิ่งของที่ถูกซ่อนไว้
Preoperational stage
ทดสอบการยึดตนเป็นศูนย์กลาง (egocentric)
Concrete operational stage
วัดความสามารถในการคิดเชิงอนุรักษ์เป็นหลัก
Formal operational stage
มุ่งทดสอบการคิดเชิงวิทยาศาสตร์
แนวคิดของ Piaget
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงสังคม
ความสามารถของบุคคลในการทำงานบางอย่างที่ได้รับการช่วย กับที่ไม่ได้รับการช่วย
แนวคิดของ Vygotsky
Dynamic Test
ทราบเกี่ยวกับศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนขณะกระทำกิจกรรมทางปัญญา ณ เวลาหนึ่ง
LPAD
S-CPT
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงมานุษยวิทยา
ให้หลักการเกี่ยวกับแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาว่าควรวัดความสามารถใด และควรออกแบบในลักษณะใด
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงระบบ
วัดรูปแบบเชาวน์ปัญญาที่มีอยู่หลาย ๆ ด้าน และมุ่งวัดเชาวน์ปัญญาที่ถูกมองว่าเป็นความสามารถที่มีคุณค่าในชีวิตประจำวัน
Sternberg Triarchic Abilities Test (STAT)
ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์
ความสามารถด้านการสร้างสรรค์
ความสามารถด้านการปฏิบัติ
ประเมินเนื้อหา 3 ด้าน
ภาษา
ปริมาณ
รูปภาพ
แบบทดสอบความถนัด
ความถนัดหลายด้าน ( The Differential Aptitude Tests, DAT)
เหตุผลทางภาษา
เหตุผลทางคณิตศาสตร์
เหตุผลเชิงนามธรรม
ความเร็วและความแม่นยำในการรับรู้
เหตุทางเครื่องกลไก
มิติสัมพันธ์
การสะกดคำ
การใช้ภาษา
ความถนัดทางวิชาการ
เหตุผลทางภาษา
เหตุผลทางคณิตศาสตร์