Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเรียนรู้แบบ Co-operative Learning - Coggle Diagram
การเรียนรู้แบบ Co-operative Learning
ความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
Alice F.Artzt and C.M. Newman, (1999 : 448-449) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือไว้
ซึ่งสรุปได้ว่า เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเรียนร่วมกัน เป็นกลุ่มเล็กๆ เพื่อเรียนรู้การแก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อให้กลุ่ม
ประสบผลส าเร็จหรือบรรลุเป้าหมายร่วมกัน โดยสมาชิกในกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งที่จะท าให้กลุ่มประสบผลส าเร็จหรือ
ล้มเหลว การที่สมาชิกจะบรรลุเป้าหมายร่วมกันนั้น ทุกคนต้องปรึกษาหารือกันและกัน
วัตถุประสงค์
มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ด้วยตนเองและด้วยความร่วมมือและ ความช่วยเหลือจากเพื่อน ๆ
รวมทั้งได้พัฒนาทักษะสังคมต่าง ๆ เช่นทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ท างานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการสร้าง
ความสัมพันธ์ รวมทั้งทักษะแสวงหาความรู้ ทักษะการคิด การ แก้ปัญหาและอื่น ๆ
องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
Johnson, Johnson and Holubec,(1994) (อ้างถึงในทิศนา แขมมณี, 2550 : 99-101) กล่าวว่าการ
เรียนรู้แบบร่วมมือ ไม่เพียงแต่เป็นการแบ่งกลุ่มให้นักเรียนช่วยกันท างานที่ได้รับมอบหมายให้ประสบความส าเร็จ
เท่านั้น การเรียนรู้แบบร่วมมือจะต้องมีองค์ประกอบส าคัญครบ 5 ประการ
(1) การพึ่งพาและเกื้อกูลกัน
(2) การปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด
(3) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน
(4) การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทางานกลุ่มย่อย
(5) การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
บทบาทของครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ (2544 : 23-29) ได้กล่าวว่าครูผู้สอนเป็นผู้มีบทบาทส าคัญคนหนึ่งในการจัดการ
เรียนการสอนไม่ว่าผู้สอนจะใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบใดก็ตามจะต้องมีการล าดับขั้นตอนใน
การสอนคล้ายคลึงกัน คือ ขั้นเตรียมการสอน การเริ่มบทเรียนการก ากับดูแลการสอน และการประเมินผลงานและ
กระบวนการท างาน
การสอนโดยใช้หมวก 6 ใบ
ความหมาย
หมวก 6 ใบ (Six thinking hats) คือ เทคนิคการคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีโฟกัส มีการจ าแนกความคิด
ออกเป็นด้านๆ และคิดอย่างมีคุณภาพ เพื่อช่วยจัดระเบียบการคิด ท าให้การคิดมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวคิด
หลัก “การคิด ” เป็นทักษะ ช่วยดึงเอาความรู้และประสบการณ์ของผู้คิดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่าง
เหมาะสมกับสถานการณ์ทักษะความคิดจึงมีความส าคัญที่สุด
แนวทางการประยุกต์ใช้งานส าหรับหลักการหมวก 6 ใบ
จากหลักการที่หมวกแต่ละใบแต่ละสีแทนลักษณะการคิดที่ต่างกัน ดังเช่นในกรณีการประชุมเพื่อตัดสินใจ
ประเด็นส าคัญบางอย่าง ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมดควรถอดความคิดเดิมออกก่อน ไม่ว่าจะเป็นต าแหน่ง บทบาท
หน้าที่เดิม หรือควรถอดหมวกที่สวมอยู่เดิมออกก่อน และเลือกหยิบหมวกใบใหม่ที่เหมาะสมมาสวมแทน เช่น ถ้า
เลือกใช้หมวกสีแดงก็แสดงว่าให้คิดพูดด้วยความจริงใจไม่เสแสร้ง เป็นต้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น จะขอ
ยกตัวอย่างการเลือกใช้หมวกแต่ละใบ
หมวกสีแดง
เหมาะกับงานที่ต้องการความจริงใจ เช่น งานแก้ปัญหาด้านสวัสดิการและเงินเดือน การ
แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในส่วนงาน การเข้าไปแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชุมชน งานด้าน CSR เป็นต้น
หมวกสีดำ
เหมาะกับงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ความสูญเสีย การเตือนให้ระวังภัย การวิเคราะห์
ด้านความขัดข้อง (Failure Analysis) ซึ่งโดยมากในเบื้องต้นจะไม่ยอมอ่อนข้อให้ใคร คือมองในแง่ร้ายไว้ก่อนเพื่อ
ป้องกันปัญหา หรือหาสาเหตุที่เป็นปัญหาให้ได้ส าหรับท าการแก้ไขต่อไป
หมวกสีเหลือง
เหมาะกับงานที่ต้องการความร่วมมือสูง ต้องการให้คนอยากท า ตั้งใจท า ต้องมีการปลุก
เร้า ชักชวน จูงใจ ชี้ข้อดี อ้างผลประโยชน์ ผลส าเร็จที่ดีมาสนับสนุน เช่น งานด้านยุทธศาสตร์ งานการลด
Duration หรือขยาย Interval ของ Maintenance Outage เป็นต้น ซึ่งต้องยกข้อดี ประโยชน์ที่จะได้รับ เพื่อให้
น่าท า น่าสนุกในการท า และเล็งเห็นถึงผลส าเร็จที่ชัดเจน
การนำทฤษฎีหมวก 6 ใบมาส่งเสริมการคิดของนักเรียน
การประชุมโดยใช้แนวคิดแบบหมวก 6 ใบ
การประชุมโดยน าทฤษฎีหมวก 6 ใบมาใช้ควบคุมการประชุมจะช่วยให้การประชุมสามารถด าเนินไปได้
ด้วยดี และได้รับรายละเอียดครบถ้วนไม่ตกหล่น เช่น เริ่มต้นจากการสวมหมวกสีน้ าเงิน เพื่อบอกถึงสาเหตุและ
เป้าหมายของการประชุมครั้งนี้ จากนั้นสวมหมวกสีขาวเพื่อให้ข้อมูลต่างๆอย่างเป็นกลาง ใช้สีเหลืองเพื่อหาข้อดี
และจุดเด่น และสีด าเพื่อหาข้อจัดและอุปสรรค์ จากนั้นใช้สีเขียว เพื่อหาแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ และเช็ค
ความพึงพอใจจากวิธีนั้น โดยใช้สีแดง