Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เชาวน์ปัญญา และความถนัด (1) - Coggle Diagram
เชาวน์ปัญญา และความถนัด (1)
สิ่งที่เป็นเชาวน์ปัญญาและความถนัด
พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน
ความคิดรวบยอดเชิงสมมุติฐาน (Hypothetical Construct)
มโนทัศน์เชิงนามธรรมที่ถูกใช้ในการอธิบายพฤติกรรมภายใน เพื่อเชื่อมโยงลักษณะที่แตกต่างกันของของสิ่งที่สนใจนั้น ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง
คำสำคัญ
เชาวน์ปัญญา
ความสามารถทั่วไป
ความถนัด
ความสามารถพื้นฐานในการเรียนรู้บางอย่าง
ศักยภาพ
ภาวะแฝง อำนาจหรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่าง ๆ อาจทำให้พัฒนาหรือให้ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้
แนวคิดที่เป็นพื้นฐานของเชาวน์ปัญญาในปัจจุบัน
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงภูมิศาสตร์
แสดงถึงความพยายามที่จะพัฒนาไปสู่แผนที่ทางจิตใจของมนุษย์ (Human mind)
ผู้บุกเบิกคนแรก คือ Franze-Joseph Gall
ให้ความสำคัญกับการระบุความสามารถของเชาวน์ปัญญาขั้นพื้นฐาน คือ องค์ประกอบความสามารถ (ability factors)
พื้นฐานแนวคิดอยู่ที่การสังเกตคะแนนแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา ที่มีความสำคัญทางบวกกับคะแนนด้านอื่น ๆ
ความสามารถทางเชาวน์ปัญญา
ความสามารถทั่วไป
สมรรถนะทางสมองเชิงเดี่ยวที่สามารถวัดได้ด้วยแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา
ความสามารถเฉพาะ
สมรรถนะเฉพาะที่วัดได้โดยแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาเฉพาะ
ทฤษฎีโครงสร้างเชาวน์ปัญญา 3 มิติ
มิติด้านเนื้อหา
ผลิตผล
วิธีการคิดหรือกระบวนการทางสมอง
แนวคิดลำดับขั้นของเชาวน์ปัญญา : แนวคิดประนีประนอม
g factor
Fluid intelligence
ความสามารถในการเข้าใจนามธรรม และมโนทัศน์ใหม่ ๆ
Crystallized intelligence
ผลรวมของความรู้ต่าง ๆ โดยทั่วไป วัดโดยใช้แบบทดสอบเกี่ยวกับคำศัพท์ และข้อมูลทั่วไป
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงคอมพิวเตอร์
กระบวนการประมวลสารสนเทศ (information processing)
บอกลักษณะสิ่งที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคลขณะกระทำกิจกรรมทางปัญญา
Spearman ได้เสนอมโนทัศน์ว่าเชาวน์ปัญญาเป็นกระบวนการทางปัญญา
ทฤษฎีการประมวลข้อมูลและความจำ
Sensory Stores
การจัดเก็บความรู้สึกสัมผัส
Short - term Stores
การจัดเก็บข้อมูลไว้ในระยะสั้น
Long-term Stores
การจัดเก็บข้อมูลไว้ในระยะยาว
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงชีววิทยา
แนวทางการศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับขนาด ปริมาตร สมอง หรือความแตกต่างของระบบประสาทที่สัมพันธ์กับคะแนนเชาวน์ปัญญา
มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อศึกษาการทำงานของสมอง
electroencephalogram (EEG)
บันทึกกระแสไฟฟ้าในสมอง เรียกว่า electrocortical activity
กระแสไฟฟ้าในสมองมีประสิทธิภาพมากเท่าใด ยิ่งมีความสัมพันธ์กับไอคิวที่สูงมากเท่านั้น
positron emission tomography (PET)
ให้ภาพเลือดและกลูโคสที่ไปหล่อเลี้ยงขณะที่บุคคลกำลังทำกิจกรรมบางอย่าง
functional magnetic resonance imaging (FMRI)
ให้ข้อมูลว่าส่วนใดของสมองที่กำลังทำงานบ้าง ขณะที่บุคคลกำลังทำงานทางปัญญาอยู่
ความสามารถในการต้านทานต่อการรบกวนของข้อมูล
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงญาณวิทยา
ผลการศึกษาของ Jean Piaget
มุ่งศึกษาว่าเชาวน์ปัญญาของบุคคลพัฒนาขึ้นมาอย่างไร
ทฤษฎีสมรรถนะทางเชาวน์ปัญญาของบุคคล
Sensorimotor
Preoperational
Concrete Operations
Formal Operations
แนวคิดเชาวน์ปัญญาทางสังคม
แนวคิดของ Vygotsky
Zone of proximal development
ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่บุคคลสามารถทำได้ โดยไม่ต้องได้รับการช่วยเหลือ กับสิ่งที่บุคคลสามารถทำได้สำเร็จหากได้รับการช่วยเหลือ
ทุกคนเป็นผู้มีส่วนร่วม (collaborator) ในการพัฒนาเชาวน์ปัญญาของบุคคลอื่น
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงมานุษยวิทยา
วัฒนธรรมเป็นศูนย์กลางต่อการระบุว่าสิ่งใดเป็นเชาวน์ปัญญา
บุคคลที่ถูกยอมรับว่ามีเชาวน์ปัญญาสูงในสังคมหนึ่งอาจจะไม่มีเชาวน์ปัญญาสูงในอีกสังคมหนึ่ง
แนวคิดเชาวน์ปัญญาเชิงระบบ
เชาวน์ปัญญาเป็นชุดของส่วนต่าง ๆ หลาย ๆ ส่วนที่มีความสัมพันธ์กัน หรือเรียกว่าพหุปัญญา
เกิดจากประมวลแนวคิดต่าง ๆ ที่ผ่านมา
ทฤษฎีพหุปัญญาของ Gardner
บุคคลมีความเฉลียวฉลาดหลายอย่าง
เชาวน์ปัญญาไม่คงที่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้
เชาวน์ปัญญา 8 ด้าน
ความสามารถในการใช้ภาษา
การใช้เหตุผลและความสามารถทางคณิตศาสตร์
ความสามารถทางดนตรี เสียงสัมผัส จังหวะ
ความสามารถในการรับรู้รูปฟอร์มต่าง ๆ ได้แม่นยำ
ความสามารถในการรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
ความสามารถที่จะเข้าใจความรู้สึก การรู้คิด ของตนเอง
ความสามารถที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น
ความสามารถที่จะเข้าใจปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญาสามเกลียวของ Sternberg
เชาวน์ปัญญา 3 ด้าน
ความสามารถในการวิเคราะห์
ความสามารถในการสร้างสรรค์
ความสามารถในการปฏิบัติ
องค์ประกอบ
ด้านความสามารถ
ใช้วางแผนแก้ปัญหาคิดขั้นสูง
ใช้ปฏิบัติการแก้ปัญหา
ใช้เรียนรู้ความรู้ใหม่
ด้านประสบการณ์
แก้ปัญหาที่แปลกใหม่
การดำเนินกระบวนการอย่างเป็นอัตโนมัติ
ด้านบริบท
การปรับตัว
การปรับแต่ง
การเลือก
ต้นกำเนิด
พันธุกรรม (heritage) อิทธิพลจากยีน
การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม (environment) ของบุคคล
การพัฒนาเชาวน์ปัญญาและความถนัด
ยีนสามารถแสดงอิทธิพลได้มากเท่าใด ขึ้นกับอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม