Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเปราะบางและภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย - Coggle Diagram
ภาวะเปราะบางและภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
ภาวะเปราะบาง
แนวทางการตรวจคัดกรองและการวินิฉัย
กลุ่มเสี่ยงที่แนะนำ ผู้อายุที่70ปีขึ้นไป
การตรวจคัดกรองแนะนำให้ทำใน กลุ่มเสี่ยง
ข้อแตกต่างระหว่างภาวะเปราะบางและภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
ภาวะเปราะบางจะครอบคลุมกว้างกว่าเนื่องจากความเสื่อมสมรรถภาพร่างกาย
จะมุ่งเน้นการรักษาในด้านกล้ามเนื้อน้อยมากกว่า
ผู้ที่มีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยจะมีภาวะเปราะบางร่วมด้วย
พยาธสรีรภาพ
ปัจจัยทางพันธุกรรม ปัจจัยด้านสังแวดล้อม
ปัจจัยด้านโภชนาการ
ปัจจัยด้านการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
การประเมินภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
การวัดความแข็งแรงกล้ามเนื้อ
Knee flexion/extention
Peak expiratory flow
Handgrip strength
การวัดการทำงานหรือสมรรถภาพทางกาย
การวัดความเร็วในการเดินปกติ
Timed up-and-go Test
Physical Performance Battery
Stair climb power test
การตรวจมวลกล้ามเนื้อ
Bioimpedance analysis
Potassium per fat-free soft tissue
Body imaging tecniques
ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
พยาธสรีรภาพ
การตอบสนองต่อการออกกำลังกายในการสร้างกล้ามเนื้อเมื่ออายุมากขึ้น
แบ่งออกเป็น ชนิดปฐมและชนิดทุติยภูมิ
ชนิดปฐมภูมิ
ภาวะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูก
อายุมาก
ความเสื่อมของระบบประสาท
ความผิปกติของต่อมไร้ท่อ
ชนิดทุติยภูมิ
มีความสัมพันธุกับอวัยวะที่มีความล้มเหลวมาก
ผลจากการได้รัยบสารอาหารไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยนอนติิดเตียง ผู้ที่ไม่ค่อยออกกำลังกายไม่ค่อยออกกำลังกาย
การขาดสารอาการโดยเฉพาะโปรตีน
แนวทางการตรวจตัดกรองและการวินิจฉัย
ผู้ที่มีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่มีน้ำหนักลดลงโดยที่ไม่ได้ตั้งใจลด
ผู้ที่มีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง
ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า
ผู้ที่มีประวัติหกล้มบ่อยๆ
แนวทางการรักษา ป้องกัน ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การให้โภชนบำบัด
วิตามินดี
สารต้านอนุมูลอิสระ
ให้ได้รับโปรตีนที่เพียงพอ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
การออกกำลังกาย
การรักษาโดยใช้ยา
วิตามินดี
ยาต้านการทำงานของ angiotensin-converting enzyme inhibitors (ACE-I)
Dehydroepiandrosterone (DHEA)
คลีเอทีน
ฮอร์โมนเกี่ยวกับการเจริญเติบโต
ยายับยั้งไมโอสเตติน
เทสโทสเทอโรน