Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะรูปร่าง
น้ำหนัก
ส่วนสูง
ลักษณะทั่วไป
สัญญาณชีพ
อาการบวม
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจเลือด
VDRL
Hct ,Hb
HBsAg , Anti-HIV
การตรวจปัสสาวะ
โปรตีน
น้ำตาล
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Ultrasonography
NST (Non-Stress test)
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การคลำ
ส่วนนำทารก ระดับของส่วนนำ ท่าและทรงของทารก
การคาดคะเนน้ำหนักของทารก
ความสูงของยอดมดลูก รอยู่ระหว่าง 33-37 cms
การฟัง
FHS ปกติ 110 – 160 ครั้งต่อนาที
มีศีรษะเป็นส่วนนำ จะได้ยินที่ต่ากว่าระดับสะดือ
ท่าก้นเป็นส่วนนำ จะได้ยินเหนือระดับสะดือ
การดู
ขนาดของท้อง
ลักษณะมดลูก
การเคลื่อนไหวของทารก
ลักษณะทั่วไปของท้อง
การตรวจภายใน
ความบางของปากมดลูก
การบวมของปากมดลูก
การเปรียบเทียบการขยายตัวของปากมดลูก
ตำแหน่งของปากมดลูก
ตรวจหาส่วนนำ
ตรวจหาท่าของทารก
การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว
การตรวจหาขนาดของก้อนโน (Caput succedaneum) และการเกยกันของกระดูกศีรษะ (Molding)
การซักประวัติ
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)
แยกให้ได้ว่าเจ็บครรภ์เตือนหรือเจ้บครรภ์จริง
มูก (Show)
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก
ประวัติทางสูติกรรม
ปัจจุบัน
ลำดับของการตั้งครรภ์
อายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนหรืออาการผิดปกติขณะตั้งครรภ์
อดีต
ประวัติการแท้ง การขูดมดลูก
ประวัติการคลอด
ประวัติของทารก
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
ข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติด้านจิตสังคม
การได้รับการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อการคลอด จำนวนครั้งที่มาฝากครรภ์ และแพทย์ผู้ดูแล
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก คือ การใช้เครื่อง electronic feto monitoring (EFM)
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
มดลูกหดรัดตัวแรงมากผิดปกติ สังเกตหน้าท้องว่ามี
Bandl’s ring หรือมี bladder full หรือไม่
การเปิดขยายและความบาง ของปากมดลูก
การคลอดก้าวหน้าทำให้ปากมดลูกบางและเปิดขยายมากขึ้นตามลำดับจนปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 เซนติเมตร และบางหมด 100%
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยาย 1 ซม/ชม
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิดขยาย 1.5 ซม/ชม
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ส่วนนำมีการเคลื่อนต่ำลงมา > 2 ซม/ชม
ส่วนนำมีการเคลื่อนต่ำลงมา > 1 ซม/ชม
Sagittal suture ของศีรษะทารกหมุนมาอยู่ในแนวA-P diameter
ตำแหน่งเสียงหัวใจทารก
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารกจะเคลื่อนต่ำลง และเบนเข้าหาแนวกึ่งกลางลำตัวของผู้คลอด
ตำแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะอยู่ที่บริเวณรอยต่อกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis) แสดงว่าใกล้คลอด
มูก, ถุงน้ำคร่ำ, อำกำรผู้คลอด
มีมูกออกมากขึ้นและลักษณะของมูกเปลี่ยนจากมูกเป็นมูกเลือด หรือเลือดมากขึ้นแสดงว่าปากมดลูกเปิดเพิ่มขึ้น โดยออกประมาณ 50 cc.
การแตกของถุงน้ำคร่ำ ะบอกได้ว่าการคลอดก้าวหน้าขึ้น
ผู้คลอดจะกระสับกระส่ายมากขึ้น ควบคุมตนเองไม่ได้ และเจ็บปวดมาก พบได้เมื่อการคลอดดำเนินมาถึงระยะ Transitional phase(ปากมดลูกเปิด 8-10ซม )
การหมุนของศีรษะทารก
ประเมินได้จาการตรวจแนวของรอยต่อแสกกลางและตำแหน่งขม่อมหลังของทารก
ภาวะปกติกระดูกท้ายทอยจะค่อยๆ หมุนขึ้นมาทางด้านหน้า (Anterior) ของเชิงกรานและรอยต่อแสกกลางจะค่อยๆ หมุนมาอยู่ในแนวหน้า-หลัง (Anterior-posterior) จากท่า LOA มาอยู่ในท่า OA
ท่า LOP, ROP หรือ OP แสดงว่าอาจเกิดการคลอดล่าช้า
หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
การเต้นของหัวใจทารก
อัตราการเต้นของหัวใจทารกปกติ 110 – 160 ครั้งต่อนาที
ถุงน้ำคร่ำแตก ควรฟังเสียงหัวใจทารกทันที
ควรฟังภายหลังมดลูกคลายตัวประมาณ 20 – 30 วินาที
ลักษณะน้ำคร่ำ
M = meconium stained liqour draining (มีขี้เทาปน)
C = clear liqour draining (ใสปกติ)
A = absent ถุงน้าแตกแต่ตรวจภายในไม่พบน้ำคร่ำ
B = blood stained (น้ำคร่ำปนเลือด)
การดิ้นของทารกในครรภ์
เคลื่อนไหวอย่างน้อย 10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์
ค่า pH อยู่ระหว่าง 7.20 – 7.45
pH ของเลือดต่ำกว่า 7.20 ถือว่าทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis) ต้องรีบช่วยเหลือแก้ไข
ลักษณะความก้าวหน้าของการคลอดที่ผิดปกติ
ระยะ latent ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นภายใน 4 ชั่วโมง
ระยะ active ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นภายใน 2 ชั่วโมง หรือปากมดลูกเปิดขยายน้อยกว่า 1.2 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์แรก และเปิดขยายน้อยกว่า 1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
เส้นกราฟการคลอดที่แสดงอัตราการเปิดขยายของปากมดลูกมีความชันน้อยกว่าเส้นกราฟปกติ
ระยะที่สองของการคลอด พบว่าส่วนนำไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมาในช่องเชิงกรานภายใน 30 นาที
บทบาทพยาบาลในระยะของการคลอด
มีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา รู้เทคนิคของการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ตั้งแต่ระยะเจ็บครรภ์จนถึงสิ้นสุดของการคลอด
มีความสามารถและชำนาญในเทคนิคต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้คลอดปลอดภัย
มีการตัดสินใจที่ดีและมีความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น
มีความตื่นตัวในการค้นพบความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
มีความสามารถในการค้นหาความต้องการของหญิงที่อยู่ในระยะคลอดและดูแลตามความต้องการนั้น
มีสัมพันธ์ภาพที่ดี มีความเห็นอกเห็นใจหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในระยะของการคลอด
การเตรียมผู้คลอด
ด้านจิตใจ
การอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์ และกระบวนการคลอด
อธิบายเกี่ยวกับการรับไว้เพื่อรอคลอด การแนะนำสถานที่และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการรอคลอด การเยี่ยมและการติดต่อกับสามีและญาติ สิทธิของผู้คลอด
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
ด้านร่างกาย
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และฝีเย็บ
การสวนอุจจาระ
การทำความสะอาดร่างกาย
จัดให้พักผ่อนในห้องรอคลอดและดูแลอย่างใกล้ชิด