Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่ได้รับการบาดเจ็บ - Coggle Diagram
กลุ่มอาการที่ได้รับการบาดเจ็บ
Abdominal injury
การประเมินผู้ป่วย
การตรวจร่างกาย
การดู
Coppernail sign
Grey - turner's sign
Cullen's sign
ร่องรอยการบาดเจ็บ รอยฟกช้ำ จ้ำเลือด
ภาวะท้องอืด (Abdominal distention)
การฟัง
เสียงการเคลื่อนที่ของลําไส้ (Bowel sound)
เสียงของหลอดเลือดโป่งฟอง (Bruit)
การเคาะ
หน้าท้องทั่วไป หา ตับ ม้าม
ตรวจ Balance's sign
การคลํา
Tender , Gaurding
Distention
Rebound tenderness
Subcutaneous emphysema
Mass , PR
Pelvic compression test
การซักประวัติ
ประวัติอดีตที่มีผลต่อการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
ประวัติการบาดเจ็บครั้งนี้
การตรวจพิการตรวจพิเศษต่างๆ
Diagnostic peritoneal lavage (DPL)
Local wound exploration
Diagnostic laparoscopy (DL)
Abdominocentesis
X - Ray : Chest x - ray Acute abdominal series
Angiography
CT scan
Ultrasonography
แบ่งเป็น
Penetrating injury เกิดจากการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องท้อง
Blunt abdominal injury เกิดจากแรงกระเเทกถูกช่องท้อง
Bicycle headle bar injury
Steering wheel injury
Seatbelt injury
คือ
การกระทบกระเเทกบริเวณท้อง สามารถทำให้เกิดการบาดเจ็บ
Plan for treatment
At ER
Monitor สัญญาณชีพ, Urine output
สวมเสื้อผ้าและป้องกันอุณหภูมิกายต่ำ
ใส่สาย NG tube, สายสวนปัสสาวะ กรณีไม่มีข้อห้าม
ให้สารน้ำ เช่น Ringer’s, Acetar, NSS
สังเกต บันทึกอาการและกิจกรรมต่างๆ
ซักประวัติ
ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค พยาธิสภาพของโรค แผนการรักษา การผ่าตัด
At Ward
รายงานแพทย์เวร
เตรียมผู้ป่วยเพื่อผ่าตัดให้ยาตามแผนการรักษา
ติดตามผล Lab, X-ray
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค พยาธิสภาพของโรค แผนการรักษา การผ่าตัด
Spinal injury
สาเหตุการเกิด
การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุส่งผลต่อไขสันหลัง
อาการและอาการเเสดง
ไขสันหลังเสียหน้าที่โดยสิ้นเชิง Complete Cord Lesion
ไม่มีการหลั่งเหงื่อ
ความดันโลหิตต่ำ และไม่คงที่ ชีพจรเต้นช้ากว่าปกติ
ไม่มีรีเฟล็กซ์ใดใด
ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะเองไม่ได้
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
ความผิดปกติขององคชาติในผู้ป่วยเพศชาย
ไขสันหลังถูกทำลายบางส่วน Incomplete Cord Lesion
อัมพาตแบบอ่อนเปียก
การสูญเสียความรู้สึกสัมผัสทั้งหมด
การสูญเสียการควบคุมการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะ
การเคลื่อนไหวที่อยู่ในอำนาจของจิตใจและรีเฟล็กซ์ที่เสียไป
หมดสมรรถภาพทางเพศ
อัมพาตแบบแข็งเกร็ง
มีอาการเกร็งของกระเพาะปัสสาวะและหูรูดทวารหนัก
รีเฟล็กซ์ต่างมีมากผิดปกติ
มีอาการเกร็งและกระดูกของร่างกายส่วนบน
ภาวะช็อกของไขสันหลัง Spinal Shock
ไม่มีแรง ขยับตัวไม่ได้
ท่าผิดปกติ รูปร่างผิดปกติ
มึนชาหรือไม่รู้สึกหักที่แขนหรือขา
ช็อค (พบได้บางครั้ง)
ปวดเวลาเคลื่อนไหว
หายใจลำบาก
ปวดลึก เจ็บลึก หรือบวมลึกที่คอหรือหลัง
หมดสติ ในคนที่สวมหมวกป้องกันอันตรายที่ศีรษะ
คือ
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อโดยรอบ หรือเส้นประสาทที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง มักสัมพันธ์กับภาวะ head injury
การประเมินการบาดเจ็บ
การซักประวัติ
หายใจไม่สะดวก
บ่นชาหรือเคลื่อนไหวแขนขาไม่ดี
ซักประวัติการเกิดเหตุ การนำส่ง
ในรายที่รู้สึกตัวแล้วบ่นปวดหลัง คอ
การตรวจร่างกาย
หลัก ABCDE
Motor power
การตรวจพิเศษ
การถ่ายภาพรังสีกระดูกสันหลัง
การฉีดสารทึบแสงเข้าไขสันหลัง
เอ็กซเรย์ คอมพิวเตอร์
การรักษาการบาดเจ็บ
การดึงกระดูกให้เข้าที่ (Reduction/realignment)
การผ่าตัด (Stabilization)
การทำให้ส่วนที่หักหรือบาดเจ็บอยู่นิ่ง (Immobilization)
กระดูก 33 ชิ้น แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
กระดูกส่วนเอว (Lumbar Vertebrae) 5 ชิ้น
กระดูกกระเบนเหน็บ (Fused Sacral Vertebrae) 5ชิ้น
กระดูกส่วนอก (Thoracic Vertebrae) 12 ชิ้น
กระดูกก้นกบ (Coccyx Vertebrae) 4 ชิ้น
กระดูกส่วนคอ (Cervical Vertebrae) 7 ชิ้น