Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้อาหารในการบำบัดโรค เเละการให้โภชนศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง,…
การใช้อาหารในการบำบัดโรค
เเละการให้โภชนศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง : โรคที่เราสร้างขึ้นมาเองจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต/กลุ่มโรคNCDS
โรคอ้วน
BMI = น้ำหนัก (กม.) / ส่วนสูง (เมตร )
จานอาหารสุขภาพ+รับบประทาน 2:1:1 1ข้าวเเข็ง 1เนื้อสัตว์ติดมัน 2 ผักผลไม้
โรคความดันโลหิตสูง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
1.ควบคุมน้ำหนัก
2.ลดการบริโภคโซเดียม
-ลดความเค็มในอาหร หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป
-ลดปริมาณการกินอาหารที่มีน้ำจิ้ม
-หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันเสีย
-งด/ลดอาหารที่มีไขมันมาก.งดบุหรี่เเละเเอลกอฮอลร์
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
โรคมะเร็ง
อาหารเเละปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง
1.อาหารที่มีไขมันมากเเละมีคอลเรสเตอรอลสูง
2.สารก่อมะเร็ง
3.สารก่อมะเร็งในสิ่งเเวดล้อม
4.ยาเเละเครื่องสำอางบางชนิด
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารเผ็ด
อาหารพึ่งปรุงรสเสร็จกำลังร้อนจัด
อาหาร/ผลไม้สเปรี้ยวจัด
อาหารที่มีลักษณะเเข็งที่จะทำให้เจ็บเวลาเคี้ยว
โรคหลอดเลือดสมองเเละหัวใจ
อาหารที่ทำให้ระดับไขมันตัวร้ายในเลือดสูง
3.อาหารที่มีคอเรสเตอรอล พบได้ในผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์เท่านั้น
1.อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว พบมากในอาหารเเละน้ำมันจากพืชบางชนิด
2.อาหารที่ไขมันทรานส์
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเเลหัวใจ
1.หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไข้มันสูง 2หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเรสเตอรอลสูง 3ลดน้ำมันมะพร้าว 4หลีกเลี่ยงอาหารกรด 5หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากไข่แดงและไข่มันอิ่มตัว 6ใช้น้ำมันในการปรุงอาหารแต่พอควร 7.ดื่มนมประเภทไขมันต่ำ 8.ลดการกินอาหารเค็ม 9.กินผักผลไม้เป็นประจำ 10.หลีกเลี่ยงอารดื่มสุรากาเเฟเเละบุหรี่ 11. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสม
โรคเบาหวาน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
1.เรี่ยนรู้เเละนัยจาร์กับอาหารเเลกเปลี่ยน
2.เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
-กินโปรตีน 0.8 กรัม/น.น ตัวเพื่อรักษามวลกล้ามเนื้อ
-กินเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ
-หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง
3.รู้สึกเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
-เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดกินดี
-เลือกกินชนิดไขมันที่ช่วยลดคอเรสเตอรอลที่ไม่ดี
-กินอาหารที่มีเอนตี้้ออกซิเดนซ์
-กินอาหารที่มีจูลินทรีย์สุขภาพ
4.รู้จกเลือด รู้จักลด เเละงดอาการที่เสียต่อสุขภาพ
-ลดเเละงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดี
-ลดเเละงดไขมันที่ได้เละผลิตภัณฑ์สัตว์เเละไขมันทรานซ์
-ลดอาหารหมักดองเเละอาหารเค็มจัด
5.กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในเเต่ล่ะวัน
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการให้โภชนบำบัด
-เเพทย์ >> เป็นผู้สั่งอาหารให้เเก่ผู้ป่วย
พยาบาล >> ประสานงานระหว่างเเพทย์นนักกำหนดอาหารเเละผู้ป่วย
นักกำหนดอาหาร >> คิดคำนวนคุณค่าอาหารสำหรับผู้ป่วยตามที่เเพทย์สั่ง
กระบวนการทางโภชนบำบัด
1.การคิดวิเคราะห์ว่าโภชนาการของผู้ป่วย -การซักประวัติ การวัดขนาดร่างกายของผู้ป่วย
2.การวาดเเผนการให็โภชนการบำบัด -เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ ชนิดของอาหาร เพื่อโภชนบำบัด
3.ขั้นการดำเนินการโภชนบำบัด
4.ขั้นการประเมินผลโภชนบำบัด
โภชนาบำบัด หมายถึง การใช้อาหารช่วยในการรักษาโรคโดยดัดเเปลงอาหารธรรมดาให้เป็นอาหารเหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู๋
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เป็นวิธีที่จะช่วยผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพื่อการอยู่รอดของชีวิตเเละสามารถต่อสู้กับการติดเชื้อได้
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเเบบสมบูรณ์
-การให้อาหารทางเส้นเลือดดำใหญ่ สามารถให้สารอาหารได้ครบทั้งปริมาณเเละชนิดอาหาร
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเเบบบางส่วน
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลายให้สารอาหารได้เป็นบางส่วนไม่ครบตามความต้องการได้สารอาหารเป็นบางชนิด
การใช้อาหารในการบำบัดโรคเเละการให้โภชนาการศึกษาในโรงพยาบาล
อาหารบำบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค
อาหารลดไขมัน -อาหารที่มีไขมันนอ้ยกว่าอาหารทั่วไป
อาหารทางรายในโภชนการ -สูตรอาหารเป็นผสม : เตรียมอาหาร 5 หมู่ ทำให้ลักษณะเเละเป็นผสมเป้าด้วยกัน -สูตรอาหารสำเร็จรูป : เป็นผลิตภัณฑ์บริษัทผลิตอาหารทางการเเพทย์
โภชนาการเบาหวาน เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดใว้อยู่ในภาวะปกติ
อาหารดัดเเปลงโปรตีน -โปรตีนสูง "ผู้ป่วยล้างไต" - โปรตีนต่ำ "ผู้ป่วยโรคไตที่มีการล้างไต"
อาหารดัดเเปลงพลังงาน -พลังงานต่ำ ไขมันพลังงานไม้ต่ำกว่า 1000 กิโลเเคลอรี่/วัน -พลังงานสูง ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐาน
อาหารลดโคเลสเตอรอล หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีโคเลสเตอรอลสูง
อาหารลดโซเดียม -ลดปริมาณโซเดียมที่มีอยู่ในอาหารทั้งที่มีในธรรมชาติเเละเติมเข้าไป