Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการช่วยเหลือเด็ก - Coggle Diagram
การป้องกันและการช่วยเหลือเด็ก
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
ปัญหาที่เกิดตามหลังการสำลัก
ทำให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมส่วนปลาย ทำให้เกิดภาวะปอดแฟบ ปอดพอง หรือหอบหืด
เกิดการอุดกั้นการระบายของเสมหะในทางเดินหายใจ ทำให้เกิดปัญหาการอักเสบติดเชื้อ
ปอดอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
การช่วยเหลือ
เด็กที่อายุน้อยกว่า 1ขวบ
1.วางเด็กคว่าลงบนแขน และวางแขนนั้นลงบนหน้าตัก โดยให้ศีรษะของเด็กอยู่ต่ำ
2.เคาะหลัง 5ครั้งติดต่อกันโดยเคาะแถวๆกึ่งกลางระหว่างกระดูกสะบักทั้งสองข้าง
3.จากนั้นพลิกเด็กให้หงายบนแขนอีกข้าง วึ่งวางบนหน้าตัก โดยให้ศีรษะอยู่ต่ำเช่นกันแล้วกดหน้าอกโดยใช้2นิ้วของผู้ช่วยกดบนกระดูกหน้าอกในตำแหน่งที่กว่าเสั้นลาก ระหว่างหัวนมทั้งสองข้างลงมา หนึ่งความกว้างนิ้วมือ
4.ทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
5.หากเด็กหมดสติ ให้ทำการประเมินการหายใจ การเต้นชีพจรและให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการเคาะหลัง และกดหน้าอก
เด็กที่อายุมากกว่า 1ปี
1 ) กระตุ้นให้เด็กไอเอง
2 ) ถ้าเด็กไม่สามารถพูด หรือมีอาการหนักอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นหายใจลำบาก ซีด เขียว ให้ทำการกดท้อง โดยผู้ช่วยยืนด้านหลังเด็ก แล้วอ้อมแขนมาด้านหน้า กำมือเป็นกำปั้นและวางกำปั้นด้านข้าง(ด้านหัวแม่มือ)บนกึ่งกลางหน้าท้องเหนือสะดือเด็ก กดโดยให้แรงมีทิศทางเข้าด้านใน และเฉียงขึ้นบน
3 ) กดซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
4 ) หากเด็กหมดสติ ให้ประเมินการหายใจ การเต้นของชีพจรและให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการกดท้อง
5 ) การกดท้องในเด็กหมดสติ ทำโดยให้เด็กอยู่ในท่านอนราบ ผู้ช่วยนั่งคร่อมตัวเด็ก วางสันมือบนท้องเด็กตำแหน่งสูงกว่าสะดือเด็ก กดในทิศทางเข้าด้านในและเฉียงขึ้น กด 5ครั้งแล้วเปิดปากสารวจดูว่ามีสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาหรือไม่กึ่งกลางท้องเด็ก
คำแนะนำเพื่อป้องกันการสำลักสิ่ง
แปลกปลอม
เลือกชนิดและขนาดของอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็กในวัยต่างๆ เพื่อป้องกันการสำลักอาหารและไม่ควรป้อนอาหารเด็กในขณะที่เด็กกำลังวิ่งเล่นอยู่
เลือกชนิด รูปร่างและขนาดของของเล่นให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก รวมทั้งจัดเก็บสิ่งของที่อาจเป็นอันตราย
กระดูกหัก(Bone fracture)
แบ่งชนิด
ตามบาดแผล
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล หรือ แผลไม่ถึงกระดูกที่หัก (Closed fracture)
กระดูกหักแบบแผลเปิด หรือ แผลลึกถึงกระดูกที่หัก ( Open fracture)
ตามรอยที่มีการหักของกระดูก
กระดูกหักทั่วไป (Simple fracture) คือ กระดูกที่แตกออกเป็น 2 ชิ้น
กระดูกหักยุบเข้าหากัน (Impacted fracture) คือ ภาวะที่กระดูกทั้ง 2 ด้านได้รับแรงกด ส่งผลให้กระดูกแตกทั้ง 2 ด้าน
กระดูกเดาะ (Greenstick fracture) คือ กระดูกที่แตกเพียงด้านเดียว
การปฐมพยาบาล
ประเมินบริเวณที่บาดเจ็บ
ทำการปฐมพยาบาลด้วยวิธีซีพีอาร์ (CPR)
ถ้ามีเลือดออกให้ทาการห้ามเลือดก่อนเสมอไม่ว่ากระดูก จะหักหรือไม่
ถ้าบาดแผลใหญ่หรือเลือดยังไม่หยุดไหลหรือไหลรุนแรง ให้หาสายรัด
รัดเหนือบาดแผลให้แน่น ๆ (ให้คลายสายรัดทุก ๆ 15 นาที โดยคลายนานครั้งละประมาณ 30-60 วินาที ถ้าเลือดยังไม่หยุดไหลก็ให้รัดกระชับเข้าไปใหม่)
ดามกระดูกที่หัก
การดามกระดูกชั่วคราวแบบง่าย ๆ โดยการใช้แผ่นไม้ พลาสติกแข็ง ไม้บรรทัด กิ่งไม้ ท่อนไม้ ท่อนโลหะ ด้ามร่ม กระดาษแข็ง กล่องกระดาษ หนังสือพิมพ์หรือนิตยสารพับทบหลาย ๆ ชั้น ทำเป็นเฝือกวางแนบกับส่วนที่หัก
โดยให้ปลายทั้ง 2 ข้างครอบคลุมถึงข้อที่อยู่เหนือและใต้ส่วนที่หัก และควรมีสิ่งนุ่ม ๆ รองรับผิวหนังของอวัยวะส่วนนั้นอยู่เสมอ แล้วรัดทั้งหมดเข้าด้วยกันโดยใช้เทป เชือก ด้าย สายไฟ เน็คไท ผ้าพันคอ
ประคบน้าแข็งตรงบาดแผล
ได้รับการดามแล้ว ถ้าเป็นไปได้ให้หาถุงน้าแข็งมาประคบทันทีในระหว่างที่รอรถพยาบาล
โดยการประคบเย็นให้ประคบไว้นานประมาณ 20 นาทีหรือจนกว่าบริเวณนั้นจะรู้สึกชาก่อนแล้วค่อนเอาออก
อย่าพยายามดึงข้อหรือจัดกระดูกให้เข้าที่ด้วยตัวเอง บริเวณที่ดามเฝือกจะต้องจัดให้อยู่ในท่าที่สุขสบายที่สุด อย่าจัดกระดูกให้เข้ารูปเดิม ไม่ว่ากระดูกที่หักจะโก่ง โค้ง หรือคด ก็ควรดามเฝือกในท่าที่เป็นอยู่
ถ้าส่วนที่หักเป็นปลายแขนหรือมือ ให้ใช้ผ้าคลองคอ
ถ้าส่วนที่ห ักเป็นนิ้วมือ ให้ใช้ไม้ไอศกรีมดามนิ้
ถ้ากระดูกหักโผล่ออกมานอกเนื้อ ห้ามดึงกระดูกให้กลับเข้าที่
ในผู้ป่วยที่กระดูกหักตรงขาส่วนบน กระดูกสันหลัง ศีรษะหรือคอ อุ้งเชิงกรานหรือสะโพก ไม่ควรเคลื่อนไหวร่างกาย
งดให้ผู้ป่วยดื่มน้าหรืออาหารจนกว่าจะไปพบแพทย์
หลังการใส่เฝือก
หากมีอาการปวดมากและรู้สึกคับเฝือกมากข้างที่ใส่เฝือกมีสีเขียวคล้ำหรือซีดขาวบวมมากขึ้น หรือมีอาการชาและรู้สึกชา ๆ
เกิดอาการปวดแสบปวดร้อนมีอาการบวมแดงที่บริเวณต่ำกว่าเฝือกหรือขอบเฝือก
มีเลือด น้ำเหลือง หรือหนอง ไหลซึมออกมาจากเฝือก หรือมีกลิ่นเหม็น, ไม่สามารถขยับเขยื้อนนิ้วมือหรือนิ้วเท้าข้างที่ใส่เฝือกได้, เฝือกหลวม บุบสลาย หรือแตกหัก, และ/หรือมีวัตถุแปลกปลอมเข้าไปในเฝือก ควรรีบไปพบแพทย์ทันที