Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด (การตรวจร่างกาย), นางสาวพิทยารัตน์…
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
(การตรวจร่างกาย)
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะรูปร่าง
ความสูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตร อาจมีปัญหาเชิงกรานแคบ
ท่าเดินผิดปกติ อาจบอกถึงความผิดปกติบริเวณสะโพกและกระดูกสันหลังอาจเสี่ยงต่อการคลอดที่ผิดปกติได้
ลักษณะทั่วไป
อาการซีดจากภาวะโลหิตจาง
อาการบวมจากความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
การหายใจหอบเหนื่อยจากโรคทางเดินหายใจหรือโรคหัวใจ
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิต ควรอยู่ระหว่าง 110-120/70-80 mmHg
อุณหภูมิ หากสูงเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ควรรายงานแพทย์ทราบ
อัตรชีพจร ถ้ามากกว่า 90 ครั้งต่อนาที เบา เร็ว
อาจมีการติดเชื้อ ขาดน้ำ อาจแสดงถึงภาวะ Shock
การหายใจ ควรอยู่ระหว่าง 16-20 ครั้งต่อนาที
น้ำหนัก
เพื่อประเมินภาวะบวมจากความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์หรือภาวะอ้วน
ถ้าอ้วนมากอาจทำให้คลอดยาก ยังมีผลต่อท่าคลอดด้วย
พฤติกรรมการแสดงถึงความเจ็บปวด
หายใจเร็ว
การเกร็งกล้ามเนื้อ
เหงื่อออกมาก
กระสับกระส่าย
ร้องครวญคราง
ทุบตีตนเอง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจเลือด
Hematocrit
Hemoglobin
VDRL
HBsAg
Anti-HIV
ผลการตรวจปัสสาวะ
เพื่อหาน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ
ผลการตรวจพิเศษ
ผลตรวจคลื่นความถี่สูง (Ultrasonography)
นำมาประมาณอายุครรภ์และทราบความผิดปกติของทารก
ผลการตรวจ NST (Non-Stress test)
EFM เพื่อทราบภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การดู
ขนาดหน้าท้อง อาจมีการตั้งครรภ์แฝดหรือภาวะน้ำคร่ำมาก
ลักษณะมดลูก เพื่อดูท่าทรกอยู่ในท่าหัว ท่าก้นหรือท่าขวาง
การเคลื่อนไหวของทารก
ลักษณะทั่วไป
มีหน้าท้องย้อย (Pendulus abdomen)
กล้ามเนื้อหน้าท้องแยกห่างกัน (Diastasis recti)
อาจส่งผลต่อการต่อระยะที่สองของการคลอด
เนื่องจากกล้ามเนื้อที่หน้าท้องหย่อนทำให้แรงเบ่งไม่ดี
การคลำ
เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
ส่วนนำทารก ระดับของส่วนนำ ท่าและทรงของทารก
การคาดคะเนน้ำหนักของทารก
ความสูงของยอดมดลูก
การฟัง
อัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ระหว่าง 110-160 ครั้งต่อนาที
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารก
จะเปลี่ยนไปตามความก้าวหน้าของการคลอด
การตรวจภายใน
สภาพปากมดลูก
มีลักษณะนุ่มหรือแข็ง ยืดขยายได้ง่ายหรือยาก บวมหรือไม่
การเปิดขยายของปากมดลูก
การบวมของปากมดลูก มักพบในผู้ที่คลอดเบ่งก่อนเวลาทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวก จึงเกิดการบวม
ตำแหน่งของปากมดลูก
ระยะแรกคลอด ปากมดลูกจะอยู่ด้านหลัง
ค่อยๆเลื่อนมาอยู่ตรงกลาง
และมาอยู่ด้านหน้าเมื่อระยะการคลอดก้าวหน้าขึ้น
การตรวจหาส่วนนำ
ดูว่าอะไรเป็นส่วนนำ
ดูระดับของส่วนนำ
การตรวจท่าทารกและขม่อม
เป็นการคลำจากการตรวจดู Sagittal suture ซึ่งจะช่วยบ่งบอกท่าของทารก
การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว
(Bag of fore water)
การตรวจหาขนาดของก้อนโน (Caput succedaneum) และการเกยกันของกระดูกศีรษะ (Molding)
ข้อบ่งชี้
ผู้คลอดรับใหม่ทุกราย
ผู้คลอดที่อยู่ในระยะที่หนึ่งของการคลอด ตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอด
ในรายที่ถุงน้ำแตก
เมื่อเจ็บครรภ์ถี่และรุนแรงขึ้น สงสัยว่าปากมดลูกเปิดหมด
สงสัยทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติ
ในรายระยะของการคลอดล่าช้า (Prolonged stage of labor)
ข้อห้าม
ผู้คลอดมีประวัติเลือดออกระหว่าการตั้งครรภ์
ส่วนนำของทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน ร่วมกับอายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนด
เมื่อมองเห็นศีรษะของทารกในครรภ์
ในระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณทวาร
Hemorrhoid
Diaeehea
กรณีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การเตรียมผู้คลอดในการตรวจภายใน
บอกให้ผู้คลอดทราบ
ให้ผู้คลอดถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
ควรรูดม่าน และปิดประตูก่อนทุกครั้ง
จัดท่านอนหงายชันเข่าทั้งสองข้าง โดยนอนชิดริมเตียงมากที่สุด
คลุมผ้าให้ผู้คลอดให้เรียบร้อย โดยเฉพาะบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะ
หาโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะ
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ และภาวะเบาหวาน
ตรวจเลือด
ในผู้คลอดที่ยังไม่เคยฝากครรภ์
เพื่อดู
Hemoglobin
Hemotocrit
VDRL
Anti HIV
HBsAg
เพื่อวินิจฉัยโรค ปัญหา ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
นางสาวพิทยารัตน์ วิรังหมู เลขที่ 80 ชั้นปีที่ 2 รหัสนักศึกษา 612401082