Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์,…
กฎหมายสาธารณสุขอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์
วิชาชีพการพยาบาลเป็นวิชาชีพที่ต้องช่วยแพทย์บำบัดโรคเพื่อตอบสนองความต้องการด้านบริการสุขภาพ โอกาสที่จะปฏิบัติเกินขอบเขต จึงจำป็นตองมีความรู้
ระเบียบกระทรวงสาธารณะสุข
กำหนดสิทธิและหน้าที่ในการป้องกันและรักษาไว้ เพื่อปลอดภัยจากความเจ็บป่วย
ข้อจำกัด เงื่อนไขการรับมอบหมายประกอบวิชาชีพ
1.จะมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพได้ต้องเป็นบุคคลระเบียบกำหนด
2.1เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่ระบบเบียบกำหนด
2.2ปฏิบัติราชการของทางราชการเท่านั้น
2.3ต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ผู้ประกอบอาชีพ
3.บุคคลสามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรม
พนักงานอนามัย
พนังงานสาธารณสุข
ผู้มีประกาศนียบัตรสาธารณสุขสาสตร์
ผู้ช่วยพยาบาล ผดุงครรภ์ และพยาบาลจิตเวช
อสม. พนักงานสุขภาพชุมชน
1.ด้านอายุรกรรม ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น บรรเทาอาการของโรค
2.รักษาพยาบาลอื่นๆ
การให้น้ำเกลือผู้ป่วยท้องเดินรุนแรง
ฉีดเซรุ่มแก้พิษงู
สวนปัสสาวะ
3.ศัลยกรรม
ผ่าฝี เย็บแผลที่ไม่สาหัส
ชะล้าง ทำแผล ฉีดยาระงับความรู้สึกผิวหนัง
4.ด้านสูตินรีเวชกรรม
ทำคลอด ช่วยเหลือกรณีจะมีการทำแท้ง
สร้างภูมิคุ้มกันโรค ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
จ่ายยาคุม เจาะโลหิตปลายนิ้ว
ให้การพยาบาลได้รับสารพิษ การแก้ สัตว์มีพิษกัดต่อย
5.ผู้ที่มีประกาศนียบัตร ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
6.ต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรของกระทรวงสาธารณะสุข
ได้ทดสอบการใส่ห่วงอนามัยไม่ตั้งครรภ์
ขอรับใส่ห่วงอนามัยได้หลอดบุตรมาแล้ว45-60วัน
ขอรับใส่ห่วงอนามัยหลังแท้ง30วันและไม่มีประจำเดือน
7.ต้องผ่านการอบรมการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอด การใส่ถอดยาฝังคุมกำเนิด
8.สามารถให้ยาสลบเฉพาะการชนิด general anesthesia
9.ผู้ที่ผ่านการอบรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตรืทางการแพทย์ประกอบวิชาชีพ
10.ผู้ที่ผ่านการอบรมสามารถรับฝากครรภ์ ทำคลอด
11.อสม.สามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
12.อาสาสมัครของสมาคม จ่ายยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีตราของสมาคม
13.การใช้ยาตามบัญชี ต้องไม่เกินรายการบัญชียาสามัญประจำบ้าน
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
การควบคุมสถานพยาบาลเพื่อทำการตรวจรักษาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
คำจำกัดความ
มาตรา4 สถานพยาบาล
สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะ เพื่อประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย
ผู้ป่วย ผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาต
ผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ดำเนินการ
ผู้ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะ ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ เป็นต้น
สถานพยาบาล
แบ่งออกเป็น2ประเภท
1.สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน เช่น คลินิก
2.สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน เช่น โรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
คุณสมบัติ
อายุไม่ต่ำกว่า20ปีบริบูรณ์
อยู่ในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุก
ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศ
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ
หน้าที่ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการ
1.แสดงใบอนุญาตของตนเปิดเผยและเห็นได้ง่าย
2.แสดงรายละเอียด
ชื่อสถานพยาบาล
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
สิทธิผู้ป่วย
3.การย้ายสถานพยาบาลไปที่อื่นดำเนินการเหมือนกับการขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
4.ถ้าจะเลิกกิจการสถานพยาบาลแจ้งหนังสือจัดทำรายงานให้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย15วัน
5.ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตอย่างใดอย่างหนึ่งในการเลิกกิจการ
6.ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกิน7วันอาจมอบให้บุคคลขอรับใบอนุญาตในสามวัน
7.ถ้ามีการเปลี่ยนตัวต้องแจ้งเป็นหนังสือทราบภายใน30วัน
8.ไม่เรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลหรือค่าบริการอื่นๆ
อายุใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
มีอายุจนถึงสิ้นปีปฏิทินปีที่10นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขอต่ออายุใบอนุญาต ยื่นคำขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ
พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541
ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
1.เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ ประกอบวิชาชีพทางเวชกรรม ขึ้นอยู่กับสถานนั้นเป็นสถานประเภทใด
2.ต้องไม่ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่แล้ว2แห่ง
3.เป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้
หน้าที่ของผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
1.ต้องดูแลมิให้ผู้ประกอบอาชีพในสถานพยาบาลที่ตนได้รับอนุญาตและไม่ให้ผู้อื่นที่ไม่ใชผู้ประกอบอาชีพเป็นผู้ดำเนินการ
2.ดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยค้างคืนเกินจำนวนเตียง
3.ต้องปฏิบัติหน้าที่ตามกฏหมายว่าด้วยวิชาชีพ
4.ต้องดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อย เหมาะแก่การเป็นสถานพยาบาล
หน้าที่ร่วมกันของผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการ
1.จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพตามจำนวนที่กำหนดตลอดเวลาการทำการ
2.จัดให้มีเครื่องใช้ ยาที่จำเป็นประจำสถานพยาบาล
3.จัดให้มีรายงานหลักฐาน เอกสารอื่นเกี่ยวกับการรักษาตามหลักเกณฑ์ เก็บรักษาไว้ตรวจสอบไม่น้อยกว่า5ปี
4.ต้องดูแลสถานพยาบาลให้เป็นไปตามมาตรฐาน
5.ดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยที่เป็นอันตราย และจำเป็นต่อการรักษา
6.ต้องดูแลมิให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการผิดประเภท ผิดลักษณะ
7.ดูแลมิให้โฆษณาชื่อที่ตั้งเพื่อชักชวนมาใช้บริการโดยใช้ความเท็จ
8.ต้องไม่ให้ผู้อื่นจัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาล หรือเอกสารอันเป็นเท็จ
โทษ
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
1.ไม่ชำระค่าธรรมเนียมการประกอบสถานพยาบาลตามเวลาที่กำหนด
2.กระทำการจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นเดือดร้อนหรือเกิดอันตราย
3.สถานพยาบาลไม่ปรับปรุงกิจการตามคำสั่งภายในระยะเวลาที่กำหนด
4.ปฏิบัติไม่ถูกตามพระราชบัญญัติ
โทษทางอาญา
1.ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย ปรับไม่เกิน1หมื่นบาท
2.ไม่จัดให้มีเครื่องมือ เครื่องใช้ ยา ไม่ดูแลสถานพยาบาล โทษจำคุกไม่เกิน1ปี ปรับไม่เกิน2หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ไม่ช่วยเหลือผู่ป่วยในภาวะอันตรายหรือตามความจำเป็น โทษจำคุกไม่เกิน2ปี ปรับไม่เกิน4หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.โฆษณาสถานพยาบาลอันเป็นเท็จ โทษปรับไม่เกิน2หมื่นบาท หรือปรับอีกวันละไม่เกิน1หมื่นบาท
5.จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ โทษจำคุกไม่เกิน2ปี ปรับไม่เกิน4หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์
บทบาท
1.ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการสถานพยาบาล
2.ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
3.ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
4.ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทต่างๆ
คลินิกให้บริการดูแลมารดา ทารกก่อนคลอดและหลังคลอด ยกเว้นการทำคลอด
ให้บริการมารดาและทารกก่อนคลอด หลังคลอดปกติ การส่งเสริมสุขภาพโดยผู้ป่วยค้างคืนไม่เกิน30เตียง
สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523
โรคติดต่อ โรคซึ่งรัฐมนตรีประกาศให้เป็นโรคติดต่อ
โรคติดต่อต้องแจ้งความ รัฐมนตรีประกาศ ให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความ
พาหะ คนหรือสัตว์ไม่มีอาการของโรคแต่ร่างกายมีเชื้อ อาจติดต่อถึงผู้อื่นได้
ผู้สัมผัสโรค คนซึ่งได้ใกล้ชิดพาหะเชื้อโรคอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้
ระยะฟักตัวของโรค ระยะเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจนผู้ติดโรคแสดงอาการป่วย
ระยะติดต่อของโรค ระยะเวลาที่เชื้อโรคแพร่ไปยังผู้อื่น
แยกกัก การแยกผู้สัมผัสโรคออกไว้ต่างหากจากผู้อื่น
กักกัน การแยกผู้สัมผัสโรคหรือพาหะให้พ้นระยะฟักตัวของโรค
คุมไว้สังเกต ดูแลผู้สัมผัสโดยไม่กักกัน
เขตติดต่อ ท้องที่หนึ่งท้องที่ใดมีโรคติดต่อเกิดขึ้น
พาหะ ยานหรือวัตถุใช้ในการขนส่ง
เจ้าของพาหะ ผู้รับผิดชอบในการควบคุมพาหะ
ผู้เดินทาง
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค การกระทำใดๆ นั้นเกิดอำนาจต้านทานโรค
ที่เอกเทศ ที่ใดๆที่กำหนดสำหรับแยกกัก
เจ้าพนักงานสาธารณสุขมีหน้าที่ตรวจดูแลรับผิดชอบสาธารณสุขโดยทั่วไป
พนักงานเจ้าหน้าที่
รัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อแจ้งความ20โรค มาตรา7
กรณีโรคติดต่ออันตราย ให้แจ้งเจ้าพนักงานสาธารณสุข
กรณีที่มีการเจ็บป่วยหรือมีเหตุสงสัยเกิดขึ้นในบ้าน ให้เจ้าบ้านหรือแพทย์ทำการรักษาพยาบาล
กรณีได้รับการชันสูตรทางการแพทย์พบว่ามีเชื้อของโรคติดต่อให้เป็นหน้าที่ของผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์
การแจ้งความ
เจ้าบ้านหรือผู้ดุแลบ้าน แจ้งชื่อและที่อยู่ของตนความสัมพันธ์กับผู้ป่วย วันเริ่มป่วย และอาการสำคัญของผู้ป่วย
แพทย์ผู้รักษาต้องแจ้งชื่อที่อยู่และสถานที่ทำงานของตนและที่อยู่ของผู้ป่วย วันเริ่มป่วย อาการ และการวินิจฉัยโรค
ผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์ ต้องแจ้งชื่อ ที่อยู่และสถานที่ทำงาน ผู้ส่งวัตถุการวินิจฉัยโรคขั้นต้น และผลการชันสูตร
ผู้รับแจ้งความโรคติดต่อ
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร
หัวหน้าฝ่ายสาธารณสุขเมืองพัทยา
ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตจังหวัดนั้นๆ
กฎหมายกำหนดกฎเกณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
1.กำหนดช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
2.หากว่ามีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดต่อ
3.ค่าใช้จ่ายที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข
กำหนดบทลงโทษ
1.บุคคลใดไม่แจ้งเจ้าพนักงานสาธารณสุขเมื่อมีโรคติดต่อ มีโทษปรับไม่เกิน2พันบาท
2.ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประก่ศ มีโทษจำคุกไม่เกิน6เดือน ปรับไม่เกิน1หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ถ้าผู้ควบคุมยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามคำสั่ มีโทษจำคุกไม่เกิน1ปี ปรับไม่เกิน5หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับง
บทบาทผู้ประกอบวิชาชีพ
1.ผู้แจ้งความโรคติดต่อเมื่อสงสัยผู้ป่วยติดต่อโรคอันตราย ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ภายใน24ชม.
2.ผู้ควบคุมการระบาดของโรคต้องให้ความสำคัญต่อการแพร่ระบาดของโรค
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
โรคติดต่อ โรคที่เกิดจากเชื้อโรคแพร่มาสู่คน
โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่มีความรุนแรงแพร่ไปยังผู้อื่นได้อย่างรวดเร็ว
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง โรคที่ต้องมีการติดตาม ตรวจสอบ จัดเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
โรคระบาด โรคติดต่ออาจแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
การสอบสวนโรค หาสาเหตุแหล่งที่เกิดและแพร่ของโรค
ประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
1.ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย
2.ช่องทางเข้าออกในราชอาณาจักร เป็นด่านและยกเลิกควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
3.การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
1.ให้เจ้าของพาหนะ แจ้งกำหนดวัน เวลา สถานที่ที่พาหนะนั้นๆ
2.ให้เจ้าของพาหนะ เข้ามาในราชอาณาจักรยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงาน
3.ห้ามผู้ใดเข้าไปในอาณาจักรซึ่งยังไม่ได้รับการตรวจ และห้ามผู้ใดนำพาหนะอื่นใดเข้าเทียบพาหนะนั้น เว้นได้รับอนุญาตแล้ว
4.เข้าไปในพาหนะและตรวจผู้เดินทาง
5.ห้ามเจ้าของพาหนะเดินทางซึ่งไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
พระราชบัญญัติแห่งชาติ2550
ปัญญา
ความรู้เท่าทันและเข้าใจอย่างแยกแยะได้
ระบบสุขภาพ
ระบบที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
บริการเกี่ยวกับการสร้างเสริม ป้องกัน ควบคุมและปัจจัยที่คุกคาม
บุคลากรด้านสาธารณสุข
ให้บริการสุขภาพที่มีกฎหมายรองรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข
สมัชชาสุขภาพ
กระบวนการที่ให้ประชาชนและหน่วยงานแลกเปลี่ยนความรู้
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา5
มีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา6
ต้องได้รับการส่งเสริมคุ้มครองสุขภาพของหญิง เด็ก คนพิการ ผู้สูงอายุ เป็นต้น
มาตรา7
ข้อมูลสุขภาพเป็นความลับส่วนบุคคล
กรณีเกิดความเสียหายหรืออันตรายที่ผู้รับบริการปกปิด
มิให้ใช้บังคับกรณีดังต่อไปนี้
ผู้รับบริการมีอันตรายถึงชีวิตต้องช่วยเหลือเร่งด่วน
ผู้รับบริการไม่อยู่ในฐานะที่จะรับทราบข้อมูลได้
ธรรมนูญระบบสุขภาพต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญราชอาณาจักร
ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
คุณลักษณะพึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
หลักประกันคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ
การคุ้มครองผู้บริโภค
การสร้างและเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพ
น.ส.ปฐมวรรณ สงวนจีน เลขที่63 รุ่น36/1 รหัส612001064