Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหากา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาการติดเชื้อ
กระบวนการติดเชื้อ
ตัวกระทำที่ให้เกิดการติดเชื้อ
แหล่งที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
แหล่งทางออกติดเชื้อ
รูปแบบการแพร่กระจาย
ทางเข้าเชื้อ
ผู้รับเชื้อ
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดการติดเชื้อ
ด้านผู้ป่วย
ภายใน ได้แก่ อายุ โรค การบาดเจ็บ ความต้านทานตํ่าความเครียด
ภายนอกได้แก่ เศรษฐกิจ อาชีพ การผ่าตัด
ด้านสิ่งแวดล้อม
บุคคลได้แก่ เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ
ที่อยู่อาศัย สิ่งแวดที่ไม่ดีได้แก่ ปนเปื้อนในอุปกรณ์การแพทย์มีสัตว์และแมลง
ตัวกระทำ
้เชื้อทีอยู่ภายใน เชื้อประจำถิ่น ได้แก่ แบคเรีย ไวรัส เชื้อราชนิดต่างๆ
เชื้อแบคที่อยู่ภายนอกร่างกาย เชื้อแบคทีเรียที่มาจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่อุปกรณ์ต่างๆ
สาเหตุที่ทำให้บุคคลเกิดการติดเชื้อ
การเจ็บป่วย
การได้รับการสอดใส่อุปกรณ์เข้าสู่ร่างกาย
การได้
ผู้ป่วยที่ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
แหล่งที่มาของเชื้อ
ในบ้าน ชุมชน
บุคคล
สัตว์เลี้ยง
เชื้อที่มากับอาหาร
เชื้อในอากาศ
ในโรงพยาบาล
เชื้อจากผู้ป่วย
อุปกรณ์ เสื้อผ้า
เครื่องนุ่งห่มต่างๆ
การตืดเชื้อโคโรน่าไวรัส
อาการและอาการแสดง
ปวดหัว เจ็บคอ คัดจมูก ไอ มีไข้มากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส มีหนาวสั้น หายใจลำบาก
ติดต่อจาก
การใช้ของร่วมกัน เช่น ดื่มนำ้จากแก้วนำ้รับประทานอาหารจากช้อนด้วยกัน การไอจาม การสัมผัส
การป้องกัน
แนะนำผู้รับบริการ ล้างมือบ่อยๆ อย่างถูกวิธี เช็ดให้แห้งใช้หน้ากากปิดปากปิดจมูก
แสดง
อาการทั่วไป
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
ระบบไหลเวียนโลหติ
เม็ดเลือดขาวลดลง (ติดเชื้อง่าย)
ระบบทางเดินหายใจ
ท้องเสีย
ระบบทางเดินหายใจ
ไอและคัดจมูก นำ้มูกไหล เจ็บคอ
หายใจไม่อื่ม หายใจลำบาก
ระบบขับถ่าย
ไตทำงานลดลง หากรุนแรงพบไตล้มเหลว/ไตวาย
ไข้หวัดใหญ่
อาการ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ไอรุนแรง
มีไข้สูง
ปวดกระดูก
อาจเกิดโรคหลอดลมและปอดอักเสบได้
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงผู้ป่วย
สวมหน้ากากอนามัย
ล้างมือบ่อยๆ
รักษาสุขภาพให้แข็งแรง
ฉีดวัคซีนป้องกันทุกปี
วัณโรคปอด
สาเหตุ
เกิดจากเชื้ แบคเรียติดต่อจากคนสู่คน ผ่านทางละอองเสมหะที่เกิดจากการไอจามหรือใช้เสีย เข้าสู่ทางเดินหายใจ
อาการ
ระยะแรกอาการไม่ชัดเจนให้สังเกตอาการตนเอง ถ้าไอเรื้อรังเกิน2สัปดาห์ไข้ตํ่าๆ ช่วงบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน นำ้หนักลด เบื่ออาหาร ไอมีเสมหะปนเลือด
การรักษา
วัณโรครักษาที่มีประสิทธิภาพสูงกินยาให้ครบ 6-8 เดือน
การป้องกัน
การดูแลรักษาผู้ป่วยให้หายขาด ป้องกันการแพร่กระจายสู่ผู้อื่น ใช้ผ้าปิดปากจมูกเมื่อไอจาม
โรคปอดอักเสบ
สาเหตุ
ปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
พบได้บ่อยที่สุด โดยเชื้อโรคที่เข้าสู่ปอดและทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและเนื้อเยื่อรอบๆ
ปอดอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
เกิดจากการหายใจเอาสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น ฝุ่น ควัน สารเคมีที่ระเหยได้
อาการ
ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอกขณะหายใจหรือไอ
หายใจเร็ว หอบ หายใจลำบาก
มีไข้ เหงื่อออก หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย
การป้องกัน
ไม่สูบบุหรี่ เนื่องจากบุหรี่จะทำลายกระบวนการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ดูแลสุขอนามัยส่วนตัว หมั่นล้างมือหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่คนหนาแน่น
หลีกเลี่ยงฝุ่นควัน ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ หรือ อาการที่หนาวเย็น
เมื่อเป็นหวัดหรือไข้หวัดใหญ่ ควรรักษาให้หายขาดแต่เนิ่นๆ
สร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ตับอักเสบจากเชื้อไวรัส
สาเหตุ
เป็นแบบชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
เชื้อไวรัสสามารถติดต่อได้หลายทาง
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับจำนวนเซลล์ตับที่ถูกทำลาย
อาการ
ชนิดเฉียบพลัน(Acute viral hepatitis)พบบ่อยไม่มีอาการตาตัวเหลือมีเพียงอาการอ่อนเพลีคล้ายเป็นหวัด
ชนิดเหลือง(icteric hepatitis)ตาตัวเหลือง
ไข้ฉี่หนู
สาเหตุ
แบคทีเรียรูปเกลียว (Spiruchete)ชื่อเล็บโตสไปร่า อินเทอโรแกนส์ (Leptospirainterroganus)หนูเป็นแหล่งรังโรคที่สำคัญสัตว์อื่น ได้แก่ สุกร โค กระบือ สุนัข
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดศีรษะ
ตัวเหลือง
ตาแดง
ไข้สูง
ปวดกล้ามเนื้อ
การป้องกัน
ไม่ดินลุยนำ้ ยํ่าโคลน หริอที่ชื้นแฉะมีนำ้ขังด้วยเท้าเปล่า เช่น ชาวนา ชาวสวน
ถ้ามีบาดแผลตามตัว ควรงดการลงแช่ในนำ้
ไม่ใช้นำ้ในแหล่งนำ้ที่มีวัว ควายลงไป
เมลิออยโดสิส
สาเหตุ
เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียกรัมลบ
มักติดต่อจากการสัมผัสดินหรือนำ้ที่ปนเปื้อนเชื้อ
เชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านบาดแผล การสำลักหรือกลืนนำ้ลายหรือหายใจเอาละอองฝุ่นของดินที่มีเชื้อปนเปื้อน
อาการ
อาการไข้ หนาวสั่น จะมีอาการเหมือนอาการติดเชื้อทั่วไป เช่น อ่อนเพลีย ไอแห้งๆ หรือไอมีเสมหะ
ในรายที่มีอาการรุนแรงจะพบมีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวได้
การป้องกัน
ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวานและผู้ที่มีบาดแผลควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสดินหรือแหล่งนำ้
ในแหล่งที่มีโรคชุกชุม ควรให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะผู้ทีมีโรคประจำตัวเรื้อรังหรือมีบาดแผล
ไข้มาลาเรีย
สาเหตุ
เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ
มีสาเหตุจากปรสิต
นำ้ลายยุงก้นปล่องเพศเมีย
อาการทั่วไป
ปวดศีรษะ
อ่อนเพลียไม่มีเรียวแรง
ไม่สบายในท้อง ปวดท้อง
ปวดกล้ามเนื้อและข้อ ร่วมกับไข้หนาวสั่น เหงื่อออก
อาการรุนแรง
ระดับการรับรู้สติลดลงหรือหมดสติ
อ่อนเพลียมาก ซัก
เหนื่อยหอบ นำ้ท่วมปอด
ซ็อด
เลือดออกผิดปกติ
การป้องกัน
ยารักษาโรค/ต้านมาลาเรีย
การกำจัดยุงพ่นยาฆ่ายุง
การป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัดมุ้งเคลีอบนำ้ยา
สวมเสื้อผ้าปกปิดมิดชิด
ไข้หวัดนก
อาการ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ ไอ มีนำ้ มีไข้สูง
ติดต่อจาก
การสัมผัสสัตว์โดยตรงการใช้ของร่วมกัน เช่น ดื่มนำ้จากแก้วนำ้ รับประทานอาหารจากซ้อนด้วยกัน การไอจาม การสัมผัส
การป้องกัน
แนะนำผู้รับบริการล้างมือบ่ายๆอย่างถูกวิธีเช็ดให้แห้งใช้หน้ากากปิดจมูก
ติดเชื้อดื้อยา
อาการ
มีไข้สูงแสดงอาการ/อาการแสดงของการติดเชื้อนั้นๆ ตรวจเลือดผลเป็นเชื้อดื้อยา
ติดต่อจาก
สัมผัส อาการ
การดูแล/ป้องกัน
ควบคุมเชื้อตามแนวทาของโรงพยาบาลแยกของผู้ป่วย ใส่ถุงมือ ใส่เสื้อกาว