Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Schizophrenia and nursing care, ผู้จัดทำ, เอง, บป่วยท้งัหมด - Coggle…
Schizophrenia and nursing care
Schizophrenia spectrum
Delusion
หมายถึง ความเชื่อใด ๆ ที่ไม่สามารถสั่นคลอนได้ แม้ว่าจะมีหลักฐานอย่างชัดเจนที่คัดค้าน ความเชื่อนั้น ๆ โดยอาการหลงผิดที่พบได้บ่อยมักมีเนื้อหาในลักษณะดังต่อไปนี้
Persecutory delusions เป็นลักษณะที่พบบ่อยที่สุด โดยหมายถึงลักษณะของอาการหลงผิดที่เชื่อว่าตนเองนั้นจะโดนปอง
ร้ายทำให้อับอาย หรือกลั่นแกล้งจากบุคคลอื่น ๆ
Referential delusions หมายถึง อาการหลงผิดที่เชื่อว่า ท่าทาง คำพูดของบุคคลอื่น หรือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ นั ้นมี
ความหมายสื่อถึงตนเอง
Grandiose delusions หมายถึง อาการหลงผิดที่เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่นอย่างมาก หรือเป็นคนส าคัญ
และมีชื่อเสียงอย่างมาก
Erotomanic delusions หมายถึง อาการหลงผิดที่เชื่อว่ามีผู้อื่นมาหลงรักตนเอง
Nihilistic delusions อาการหลงผิดทีเชื่อว่ามีสิ่งเลวร้ายหรือหายนะนั้น ได้เกิดขึ้นกับตนเอง หรือจะต้องเกิดขึ้นกับตนเอง
Jealousy delusions หมายถึง อาการหลงผิดที่เชื่อว่าคู่ครองนอกใจ
Somatic delusions อาการหลงผิดที่มีเนื้อหาเจาะจง กับอาการทางร่างกายหรืออวัยวะใดๆ
Thought withdrawal อาการหลงผิดที่เชื่อว่าความคิดของตนนั้นถูกทำให้หายไปโดยพลังอำนาจบางอย่าง
Thought insertion หมายถึง อาการหลงผิดที่เชื่อว่ามีพลังอ านาจบางอย่างใส่ความคิดที่ไม่ใช่ของตนเองเข้ามา เช่น มนุษย์ต่างดาวใส่ความคิดเข้ามาให้กระพริบตา
Thought Controlled หมายถึง อาการหลงผิดที่เชื่อว่าพลังอำนาจบางอย่างควบคุม ความคิดและบงการให้ตนเคลื่อนไหวหรืดคิดตามนั้น
Hallucination
หมายถึงมีการรับรู้ทางประสาทใดๆ ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่มีสิ่งเร้าโดยส่วนใหญ่แล้วอาการหลอนที่มีความสำคัญทางคลินิกนั้นมักมีลักษณะที่ชัดเจนและผู้ป่วยมักจะไม่สามารถควบคุมอาการหลอนได้
เป็นการรับรู้ที่ผิดปกติของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของร่างกาย
ประสาทหลอนทางหู (auditory hallucination)
ประสาทหลอนทางการสัมผัส (tactile hallucination)
ประสาทหลอนทางลิ้น (gustatory hallucination)
ประสาทหลอนทางตา (visual hallucination)
ประสาทหลอนทางจมูก (olfactory hallucination)
Disorganized thinking/speech
ผู้ตรวจจะสังเกตได้จากคำพูด (speech) ระหว่างการสัมภาษณ์ เช่น ผู้ป่ วยตอบ ไม่ตรงคำถาม (irrelevant) หรือ มีการพูดเปลี่ยนเรื่องไปเรื่อย (loose association) ตลอดการสัมภาษณ์เป็นต้น
หากความยุ่งเหยิงและไม่เป็นระเบียบของกระบวนการคิดนั้นรุนแรงมากขึ้น อาจทำให้ผู้คนนั้นพูดไม่รู้เรื่อง (incoherent)โดยใช้คำที่มีความหมายแต่ไม่เกี่ยวข้องกันมาเรียงประโยค (word salad)
Grossly disorganized or abnormal motor behavior
อาการสามารถแสดงออกได้ในหลายรูปแบบ อาจจะเป็นพฤติกรรมที่เอาแต่ใจเหมือนเด็กซึ่งไม่เหมาะสมกับอายุอย่างมาก หรืออาจแสดงออกเป็นพฟติกรรมกรัวนกระวาย
Negative symptoms
เป็นอาการที่พบได้บ่อยในโรคจิตเภทแต่จะพบไม่บ่อยในโรคจิตชนิดอื่น ๆ
การแสดงอารมณ์ที่ลดลง (Decreased emotional expression) ซึ่งสังเกตจากการแสดงออกทางสีหน้า สำเนียง และภาษาทางกาย
แรงกระตุ้นภายในที่ลดลง (Avolition/Amotivation) ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยอาจนั่งเฉยๆ อยู่เป็นระยะเวลานาน
ปริมาณการพูดที่ลดลง (Alogia)
การมีความสุขจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เคยชอบหรือสนใจลดลง (Anhedonia)
การเข้าสังคมที่ลดลง (Asociality)
สาเหตุ
ความผิดปกติระดับโครงสร้างของสมอง
ความผิดปกติระดับจุลภาคและระดับการทำงานของสารสื่อประสาท
ปัจจัยทางพันธุกรรมก็มีส่วนในการทำให้เกิดโรค
ปัจจัยที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (perinatal factors)
ปัจจัยกระตุ้น (ความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่ดี เช่น ความสัมพันธ์ในรูปแบบพูดอย่างแต่ให้ทำอย่าง(double-bind) และความสัมพันธ์ที่ใช้อารมณ์รุนแรง (expressed emotion)
ความบกพร่องของประสาทพุทธิปัญญา
(neurocognitive impairment)
เกณฑ์การวินิจฉัย
Brief psychotic disorder
Schizophreniform disorder
Schizophrenia
Schizoaffective disorder
Delusional disorder
การวินิจฉัยแยกโรค
Schizophrenia
ลักษณะอาการโรคจิต
ต้องเข้าเกณฑ์ของโรคจิตเภท
ลักษณะอาการทางอารมณ์
อาจจะเข้าเกณฑ์ major ต้องเข้าเกณฑ์
major depressive episodeหรือ manic episode
ระยะเวลาอาการโรคจิต
เป็นต่อเนื่องนานกว่า 6 เดือน
ระยะเวลาอาการทางทาง
อารมณ์
เกิดขึ้นส่วนน้อย ของระยะเวลาการบาดเจ็บทั้งหมด
Schizoaffective disorder
ลักษณะอาการทางอารมณ์
ต้องเข้าเกณฑ์ major depressive episode
manic episode
ระยะเวลาอาการโรคจิต
มีอย่างน้อย 2 สัปดาห์ที่อาการโรคจิตคงอยู่
โดยไม่มีอาการทางอารมณ์
ลักษณะอาการโรคจิต
ต้องเข้าเกณฑ์ของ A ของ
โรคจิตเภท
ระยะเวลาอาการทางทาง
อารมณ์
เกิดขึ้นเป็นส่วยใหญ่ของระยะเวลาการบาดเจ็บทั้งหมด
Mood disorders with psychotic features
ลักษณะอาการทางอารมณ์
ต้องเข้าเกณฑ์ major depressive episode manic episode
ระยะเวลาอาการโรคจิต
มีความสัมพันธ์ทางอารมณ์
ลักษณะอาการโรคจิต
อาจจะเข้าเกณฑ์ข้อ A แต่ต้องไม่เข้าเกณฑ์ข้อ C ของโรคจิตเภท
ระยะเวลาอาการทางทาง
อารมณ์
เป็นอาการหลังของการป่วย
การรักษา
รักษาโยยาต้านโรคจิต(Antipsychotics)เป็นหลัก
จิตบ าบัดด้วยวิธี Cognitive Behavior Therapy
Supportive Psychotherapy
Psychosocial treatment
อาชีวบำบัด (occupational therapy)
การสอนทักษะทางสังคม (social skill training)
การบำบัดทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภท
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพปัญหา การค้นหาและประเมินสภาพปัญหาของผู้ป่วยครอบคลุมการ ซักประวัติผู้ป่ วยและผู้ดูแล การตรวจสภาพจิต การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการและนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ระดับและสาเหตุของพฤติกรรม
ขั้นตอนที่ 2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
3.1 การวางแผนระยะสั้น เน้นการช่วยเหลือในช่วงแรก โดยเฉพาะการดูแลผู้ป่วยในระยะที่มีอาการ จำเป็นต้องได้รับการดูแลจากพยาบาลโดยตรงในปัญหาต่างๆ
3.2 การวางแผนระยะยาว เป็นการก าหนดแผนการพยาบาลที่เน้นการดูแลระยะยาวและต่อเนื่อง โดยครอบคลุมถึงเป้าหมายและการด าเนินชีวิตระยะยาวในอนาคต
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
การบำบัดด้านร่างกาย
การรักษาด้วยยา การรักษาด้วยไฟฟ้า และการจ ากัดพฤติกรรม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
การบำบัดค้านจิตสังคม
การดูแลและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยจิตเภทเรื่องการรักษาด้วยยา
สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัด
กลุ่มบำบัด
สิ่งแวดล้อมบำบัด มีความสำคัญและจำเป็น มุ่งเน้นให้ปู้ป่วยรู้สึกไว้วางใจ
และเชื่อมั่นต่อกระบวนการรักษาทางการพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
การพยาบาลจะมุ่งเน้นความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก
ระยะที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการดีขึ้น(Stabilization please)
มุ่งเน้นการเฝ้าระวังอาการกำเริบและช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจเรื่อโรคจิตเภท
และการรักษาดูแลตนเอง
ระยะที่อาการสงบแต่อาจมีอาการทางลบหลงเหลืออยู่
(Maintenance phase)
การพยาบาลในระยะนี้
กลุ่มบำบัด
การบำบัดครอบครัว
การบำบัดทางจิตสังคมทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
เน้นให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้มากที่สุดร่วมกับการทำหน้าที่ทางสังคมและการประกอบอาชีพ
ผู้จัดทำ
นายสุรเดช วงศ์แหวน เลขที่ 49 ห้อง A
นักศึกษาหลักสตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2
เอง
บป่วยท้งัหมด