Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเครื่องมือการวัดผลประเมินผล - Coggle Diagram
การสร้างเครื่องมือการวัดผลประเมินผล
การศึกษำแบบเรียนรวม คือ อะไร
ศูนย์การศึกษาของสภาสถาบันราชภัฎทั้ง 6 ศูนย์ คือ สถาบันราชภัฎสวนดุสิต เชียงใหม่ พิบูลย์สงคราม
นครราชสีมา และสงขลา ได้ร่วมกันให้ค าจ ากัดความการศึกษาแบบเรียนรวมของประเทศไทยไว้ว่าการศึกษา
แบบเรียนรวม คือ การศึกษาส าหรับทุกคนโดยรับเข้ามาเรียนรวมกัน ตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษา และจัดให้มีบริการ
พิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล
การศึกษำแบบเรียนรวมมีแนวคิดอย่ำงไร
โอกาสที่เท่าเทียมกัน (Equal Opportunity ) ทุกคนควรได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าเขา
จะยากดีมีจน หรือพิการหรือไม่ก็ตาม
ความหลากหลาย (Diversity) ในมวลหมู่มนุษย์ย่อมมีความหลากหลายแตกต่างกัน จะให้เหมือนกันทุกคนไม่ได้
การให้การศึกษาจะต้องยอมรับความแตกต่างในหมู่ชน การศึกษาที่ให้จะต้องแตกต่างกันแต่ทุกคนจะต้องเคารพใน
ความหลากหลาย
ทุกคนมีความปกติอยู่ในตัว (Normalization) ทุกคนมีความปกติอยู่ในตัวและจะต้องยอมรับความปกตินั้น ๆ ทุก
คนอยากเหมือนกัน ไม่มีใครอยาก “ ผ่าเหล่าผ่ากอ ” ทุกคนจึงควรได้รับการศึกษาไปพร้อม ๆ กัน ห้ามให้การศึกษา
แยกตามเหล่า
สังคมที่มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multicultural Society) ในหนึ่งสังคมย่อมมีความหลากหลายวัฒนธรรม เรา
ต้องยอมรับความหลากหลายเหล่านั้น การให้การศึกษาจะต้องค านึงถึงความหลากหลายวัฒนธรรมในสังคม
ศักยภาพ (Potential) มนุษย์ทุกคนไม่ว่าจะโง่หรือฉลาดย่อมมีศักยภาพทั้งนั้น แต่ละคนมีศักยภาพไม่เท่ากันการ
ให้การศึกษาต้องให้จนบรรลุศักยภาพของแต่ละคน ไม่ใช่ให้การศึกษาในปริมาณที่เท่ากันคุณภาพเท่ากัน ซึ่งไม่
สอดคล้องกับศักยภาพของแต่ละคน
มนุษยนิยม (Humanism) คนเก่งคือคนที่เข้าใจมวลหมู่มนุษย์ และช่วยให้มวลหมู่มนุษย์ด ารงอยู่ร่วมกันได้ ไม่ใช่
คนเก่งแต่วิชาการแต่ท าให้เกิดการแตกแยก
กระบวนการสังคมประกิต (Socialization) มนุษย์เป็นสังคม เราไม่สามารถจะแยกมนุษย์ออกจากกันได้ เพราะ
ธรรมชาติของเขาต้องมีสังคม การให้การศึกษาโดยการแยกออกไป จึงไม่สอดคล้องกับการเป็นมนุษย์
ความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualization) มนุษย์แต่ละคนมีลักษณะเฉพาะ ไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน
การให้การศึกษาถึงแม้จะให้เรียนรวมกันไปก็ต้องการเฉพาะของแต่ละคน
การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Dependency) มนุษย์เราควรจะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ซึ่งจะท าให้สังคมน่าอยู่
สภาวะแวดล้อมที่มีข้อจ ากัดน้อยที่สุด (Least Restrictive Environment) การให้การศึกษาจะต้องให้ในสภาวะ
ที่เข้าเรียนได้ และจะต้องน าเขาสู่สังคมปกติโดยเร็วที่สุด
ในการจัดการศึกษาส าหรับคนพิการนั้นต้องค านึงถึงความต้องการจ าเป็น ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งการ
จัดการศึกษาพิเศษนั้น เป็นการจัดการด้านการเรียนการสอน และการบริการให้แก่เด็กที่มีความบกพร่องด้านต่างๆ
ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้ได้รับการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับสภาพร่างกาย จิตใจ และ
ความสามารถ ซึ่งแท้ที่จริงแล้วหลักในการจัดการศึกษาพิเศษที่ส าคัญก็คือ การจัดประสบการณ์ในการเรียนการสอน
ให้ทุกคนได้รับประโยชน์เต็มที
รูปแบบการเรียนรวม
1. รูปแบบครูที่ปรึกษา
(Consultant Model) ในรูปแบบนี้ครูการศึกษาพิเศษจะได้รับมอบหมายให้สอนทักษะแก่
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ เนื่องจากครูที่สอนชั้นเรียนรวมสอนเด็กแล้ว แต่ทักษะยังไม่เกิดกับเด็กคนนั้นครู
การศึกษาพิเศษต้องสอนทักษะเดิมซ้ าอีก จนกระทั่งเด็กเกิดทักษะนั้น ส าหรับรูปแบบนี้ครูการศึกษาพิเศษจะ
รับผิดชอบเด็กจ านวนหนึ่ง เป็นจ านวนจ ากัด ครูปกติและครูการศึกษาพิเศษต้องมีการพบปะเพื่อประชุม
ปรึกษาหารือเกี่ยวกับทักษะของเด็ก และมีการวางแผนร่วมกัน รูปแบบนี้เหมาะกับโรงเรียนขนาดเล็กที่มีจ านวนเด็ก
ที่มีความต้องการพิเศษไม่มากนัก ซึ่งผู้เรียบเรียงได้ไปศึกษาดูงานที่ Westbrook Walnut Grove : High
School ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการจัดรูปแบบการเรียนรวม แบบครูที่ปรึกษา
2. รูปแบบการร่วมทีม
( Teaming Model) ในรูปแบบนี้ครูการศึกษาพิเศษจะได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการ
ร่วมทีมกับครูที่สอนชั้นปกติ เช่น ในสาย ป.2 ( ครูที่สอนชั้นป.2 / 1 และ ป.2 / 2) ครูการศึกษาพิเศษมีหน้าที่ให้
ข้อมูลแก่ครูปกติเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนรวม ให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการปรับวิธีสอนการ
มอบหมายงานหรือการบ้าน การปรับวิธีสอบ การจัดการด้านพฤติกรรม มีการวางแผนร่วมกันสม่ าเสมอ เช่น
สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง ครูที่เกี่ยวข้องจะต้องท างานวางแผนร่วมกันเป็นทีมในการให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีความ
ต้องการพิเศษ
3. รูปแบบการร่วมมือ
หรือ การร่วมสอน (Collaborative / Co Teaching Model) ในรูปแบบนี้ทั้งครูการศึกษา
พิเศษและครูปกติร่วมมือกันในหลายลักษณะในการสอนเด็กทุกคน ทั้งเด็กที่มีความต้องการพิเศษและเด็กปกติในห้องเรียนปกติ ร่วมมือกันรับผิดชอบในการวางแผน การสอน การวัดผลประเมินผล การดูแลเกี่ยวกับระเบียบวินัย
และพฤติกรรมของเด็กผู้เรียนจะได้รับบริการด้านการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับวัย ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน
ที่จ าเป็น ตลอดจนการปรับการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละคน ในรูปแบบนี้ครูผู้รับผิดชอบจะต้องประชุม
กันเพื่อวางแผน เพื่อให้การเรียนรวมด าเนินไปด้วยดีอาจจ าแนกออกเป็นรูปแบบย่อย ๆ
กำรจัดกำรศึกษำแบบเรียนร่วม
ชั้นเรียนปกติเต็มวัน รูปแบบการจัดเรียนร่วม
ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการปรึกษา
ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการครู
ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการสอนเสริม
ชั้นพิเศษและชั้นเรียนเรียนปกติเด็กจะเรียนในชั้นเรียนพิเศษ
ชั้นเรียนพิเศษใน โรงเรียนปกติ
กำรจัดบรรยากศในชั้นเรียนรวม
บรรยากาศของความเป็นมิตร เด็กปกติและเด็กที่มีความต้องการพิเศษท ากิจกรรมการเรียนร่วมกัน ไม่มีการ
รังเกียจเดียดฉันท์ ทุกคนเป็นมิตร จนไม่สนใจค าว่าพิการหรือปกติ
นักเรียนประกอบกิจกรรมการเรียนที่หลากหลายตามศูนย์การเรียนต่าง ๆ ตามความสนใจและความสามารถของ
ตน
ครูผู้สอนมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมของนักเรียนและเฝ้ามองดูการร่วมกิจกรรมของนักเรียนและเฝ้ามองดู
การร่วมกิจกรรมของนักเรียนด้วยความยินดี
ผู้เรียนมีโอกาสเลือกที่จะประกอบกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมที่ง่ายและกิจกรรมที่ยาก ๆ ให้เลือก
บรรยากาศห้องเรียนที่มีเพื่อนคอยช่วยเหลือเกื้อกูล ซึ่งกันและกัน ไม่ใช้บรรยากาศแข่งกันหรือแก่งแย่งแข่งดี
บรรยากาศของการสร้างปฏิสัมพันธ์ ( Interaction ) ทางสังคม เด็กทุกคนได้สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกัน
และกัน ห้องเรียนอาจไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยนัก
บรรยากาศของการเรียนการสอนที่มีนักเรียนเป็นศูนย์กลางครูไม่ใช่แหล่งความรู้ ครูไม่ใช่ผู้สอน แต่ครูเป็นผู้
ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งเด็กจะเรียนรู้ด้วยตนเอง
บรรยากาศที่ผู้เรียนแต่ละคนท ากิจกรรมที่หลากหลายแตกต่างกันไม่จ าเป็นที่ทุกคนจะต้องท าในสิ่งเดียวกันและ
บรรลุเป้าหมายสูงสุดอันเดียวกัน
เป็นการเรียนการสอนที่มิได้ด าเนินไปเฉพาะในห้องเรียน แต่เป็นการเรียนรู้ที่จะต้องออกไปสู่แหล่งวิชาการใน
ชุมชน
เป็นการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเฉพาะทักษะทางวิชาการ แต่เน้นทักษะทางสังคมและทุกทักษะที่เป็นทักษะใหม่
เอ็ดชนิดท์และบาร์ ได้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นตัวอย่างในการปรับสภาพห้องเรียน ปรับการสอน ปรับ
สภาวะทางสังคม และพฤติกรรม
แนวโน้มในกำรจัดกำรเรียนรวมเป็นอย่ำงไร
ห้องเสริมวิชาการจะมีบทบาทน้อยลง จากเดิมห้องเสริมวิชาการ (Resource Room) มีบทบาทมากในการสอน
เด็กที่มีความบกพร่องในโรงเรียนทั่วไป โดยครูจะดึงเด็กออกมาสอน(pull – out Program) ในห้องพิเศษที่จัดขึ้น
ต่างหาก ห้องเรียนแบบนี้เรียกว่าห้องเสริมวิชาการหรือห้องเสริมทักษะ
การปรับสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ (Adaptive Learning Environment) จากการประเมินความสามารถของเด็ก
โดยมีผู้ปกครองมีส่วนร่วม ก าหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละคนการปรับปรุงสภาพแวดล้อมใน
โรงเรียนให้สอดคล้องกับความต้องการจ าเป็นต้องด าเนินการให้แล้วเสร็จและจัดการเรียนการสอน รวมทั้ง
ประเมินผลตามแนวทางที่ก าหนดไว้ด้วย ขั้นตอนส าคัญในการปรับสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้
การร่วมสอน (Co – Teaching) หมายถึง การที่ครูสอน ร่วมกันสอนในชั้นเดียวกัน วิชาเดียวและในเวลาเดียวกัน
มีการวางแผน ก าหนดเป้าหมาย สร้างบรรยากาศและแก้ปัญหาร่วมกัน (ผดุง อารยะวิญญู, 2551) ไม่จ าเป็นต้องดึง
เด็กออกจากห้องปกติ ไปเรียนในห้องเสริมวิชาการอาจสอนรวมกันโดยให้ครูการศึกษา มาสอนในห้องปกติร่วมกัน
สอนกับครูประจ าชั้น หรือครูประจ าวิชาในบางชั่วโมงครูคนหนึ่งอาจสอนเด็กทั้งชั้น ในขณะที่ครูอีกคน 1 คน สอนใน
กลุ่มเล็กโดยอาจให้เด็ก 2 – 3 คน เข้าใจในเนื้อหาเดียวกัน หรือครูอาจสอนเด็กเป็นรายบุคคลในห้องเดียวกันก็ได้
หรือครูคนหนึ่งอาจเป็นผู้สอนครูอีกคนหนึ่งอาจตรวจดูว่าเด็กตั้งใจฟัง และเข้าใจ หรือไม่ การร่วมสอนอาจมีปัญหาได้
ถ้าครูทั้งสองคนไม่สามารถท างานร่วมกันได้ การร่วมสอนที่ได้ผลดีควรด าเนินการ
ลักษณะของกำรจัดกำรศึกษำแบบเรียนรวม
ความแตกต่างจากรูปแบบการจัดการศึกษาส าหรับเด็กพิเศษและเด็กปกติคือ จะต้องถือหลักการดังนี้
• เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
• เด็กทุกคนเข้าเรียนในโรงเรียนพร้อมกัน
• โรงเรียนจะต้องปรับสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ทุกด้านเพื่อให้สามารถสอนเด็กได้ทุกคน
• โรงเรียนจะต้องให้บริการ สื่อ สิ่งอ านวยความสะดวกและความช่วยเหลือต่าง ๆ ทางการศึกษาให้แก่เด็กที่มีความ
ต้องการจ าเป็นนอกเหนือจากเด็กปกติทุกคน
• โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาได้หลายรูปแบบในโรงเรียนปกติทั่วไปโดยจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่มีขีดจ ากัดน้อย
ที่สุด
ควำมแตกต่ำงของกำรศึกษำแบบเรียนรวม กับกำรเรียนร่วม
กำรศึกษำแบบเรียนร่วมหมำยถึง
การน านักเรียนพิการ หรือมีความพกพร่อง เข้าไปในระบบการศึกษาปกติ มีการร่วมกิจกรรม และใช้เวลา
ว่างช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวัน ระหว่างนักเรียนพิการหรือที่มีความพกพร่องกับนักเรียนทั่วไป