Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพลังอ านาจ - Coggle Diagram
การสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพลังอ านาจ
ั การพฒั นาอารมณ์และจิตใจ จึงไม่ใช่เพียงแต่สนใจทาใหเ้ ด็กสนุกและมีความสุข ในชีวิตจริง
คนเราไม่ไดง้ ่ายอยา่ งน้นั การพัฒนาด้านอารมณ์และจิตใจ จึงมีจุดมุ่งหมายใหเ้ ด็กสะสมความรู้สึก
ความเข้าใจ ผา่ นเหตุการณ์อนั หลากหลาย ซับซ้อน ในบ้าน ในโรงเรียน และในชุมชน
สมองกับอารมณ์และจิตใจ
เด็กเรียนรู้ผา่ นเหตุการณ์ในชีวติ ประจาวนั ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์และจิตใจ (emotional
intelligence) น้นั เด็กเรียนรู้ต้งั แต่ขวบปี แรก ผา่ นเหตุการณ์ง่ายๆ ในชีวติ ประจาวนั การใชช้ ีวติ ในวยั
เด็กสอนให้เขารู้จกั ความสมหวงั ความผดิ หวงั ความวิตกกงั วล ความเศร้าใจ ความกลวั ความภูมิใจ
ความละอาย ความยนิ ดี กระทงั่ ความรู้สึกผิด
การก่อตวั ของอารมณ์ คือ ส่วนหน่ึงของบุคลิกภาพ อารมณ์เป็ นปฏิกิริยาที่เด็กสัมพนั ธ์กบั โลก
ภายนอก การช่วยขดั เกลาและพฒั นาอารมณ์และจิตใจไม่ไดผ้ า่ นเหตุผลอยา่ งเดียว แต่ตอ้ งอาศยั แรง
บนั ดาลใจ เช่น ความประทบั ใจ ความเห็นใจ ความเสียใจ ความกงั วล เป็ นตน้ ผใู้ หญ่ควรนาเด็กให้
ผา่ นเหตุการณ์ร้อนหนาวไป โดยการประคบั ประคอง ไม่ใช่โดยการ “หักดิบ” หรือ “โอ๋” จนเกินเหต
อารมณ์มีผลต่อการเรียนรู้ เมื่อมีอารมณ์ จะมีการหลงั่ สารเคมีเขา้ ในสมอง และมีผลต่อซีนแนปส์
และความสามารถในการคิด เรียนรู้ และจา ดงั น้นั การทาใหห้ อ้ งเรียนมีบรรยากาศในทางที่ดีต่อ
อารมณ์ โดยเฉพาะเป็ นที่ที่ปลอดภยั และใหก้ ารยอมรับเด็ก ก็จะทาใหเ้ ด็กมีแรงจูงใจและประสบ
เด็กตอ้ งเรียนรู้ผา่ นชีวติ จริง กระบวนการเรียนรู้ในห้องเรียนและในบา้ น มกั เนน้ การรับรู้ความเป็ น
ตวั เอง และความเป็ นคนอื่น โดยผา่ นการเรียนที่แขง็ กระดา้ ง ตายตวั โดยแบบเรียนทางสังคมศึกษา
อนั ที่จริงแลว้ เด็กจาเป็ นตอ้ งมีพ้ืนฐานความเขา้ ใจเรื่อง วฒั นธรรมจากชีวติ จริง โดยผา่ นเหตุการณ์
วันเวลา เรื่องราวอันซับซ้อนของชีวิต
การจัดกิจกรรมด้านอารมณ์และจิตใจ
• ใหเ้ ด็กไดฝ้ ึ กฝนการริเริ่ม และคน้ ควา้ หาความทา้ ทายใหม่ ฝึ กเลือกและฝึ กตดั สินใจ และช่วยใหเ้ ด็กมี
ความรู้สึกเป็ นตัวตนที่เขม็ แข็งข้ึน เมื่อเด็กอยใู่ นเหตุการณ์จริง เช่น เล่นกบั เพื่อน ทางานบา้ น ออกไป
ซ้ือของใหแ้ ม่ ป้อนขา้ วนอ้ ง มีเหตุการณ์จานวนมากที่เด็กตอ้ งตดั สินใจวา่ เขาควรทาอะไร ควรทา
อยา่ งไร ควรแกป้ ัญหาแบบไหน
• ใหเ้ ด็กฝึ กแสดงความเขา้ ใจในสิทธิความรับผดิ ชอบของตนเองและสิทธิของผอู้ ื่น ส่งเสริมกิจกรรม
แบ่งงานกนั ทา
• ใหเ้ ด็กมีประสบการณ์การเล่น และการทางานที่ใชท้ กั ษะการแกป้ ัญหา รวมถึงการประนีประนอม
ไม่ใชค้ วามรุนแรง ขณะที่เด็กเกี่ยวขอ้ งกบั ประสบการณ์การเรียนรู้ของเขากบั เพื่อน เด็กจะ
พฒั นาการรับรู้คุณค่าของตนเอง ซ่ึงจะช่วยในเรื่องปฏิกิริยาทางอารมณ์ และจะนาไปสู่การเรียนรู้
ตลอดชีวิต
• ให้เด็กไดร้ ู้จกั แสดงออกอยา่ สนุกสนานกบั เรื่องตลก ขาขนั เช่น ฟังเรื่องตลก เล่านิทานสนุก เล่น
บทบาทสมมติ เรื่องตลก และสนุก นอกจากท าให้ขบขัน สนุก อารมณ์ดีแล้ว ยังเป็ นการน าเอา
เรื่องราวต่างๆ มาประกอบข้ึนดว้ ยภาษา ท่าทางพิสดาร กระตุน้ ใหส้ มองรู้จกั เหตุการณ์ที่เร้า
จินตนาการอยา่ งยงิ่
• ใหเ้ ด็กไดค้ น้ หาความสัมพนั ธ์และสร้างมิตรภาพกบั เพื่อนและกลุ่มที่ห่างออกไป โดยการจดั
กิจกรรมคละกลุ่ม คละช้นั บา้ งตามความเหมาะสม การใชช้ ีวติ ร่วมกนั ทาใหเ้ ด็กเรียนรู้ที่จะรักษา
ความสัมพนั ธ์กบั ผอู้ ื่น เช่น ช่วยเหลือเพื่อน รู้จกั ขอโทษ ขอบคุณ เอ้ืออารี ขณะที่เด็กสัมพนั ธ์กบั
ผู้อื่
น ความเขา้ ใจโลกจะเพิ่มข้ึน เด็กจะเขา้ ใจในเรื่องความแตกต่าง ความคลา้ ยคลึงในเรื่องเพศ เช้ือ
ชาติ และความสัมพนั ธ์ทางสังคมจะชดั เจนมากข้ึน
ทฤษฎีหลกั การการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล เป็ นกระบวนการซึ่งประกอบด้วย
กระบวนการยอ่ ย ไดแ้ ก่ การวดั ผล (measurement) และการประเมินผล (assessment) ท้งั การวดั ผลและ
ประเมินผลมีความสัมพนั ธ์ เกี่ยวขอ้ งกนั อยา่ งแยกไม่ออก ในทางการศึกษาจึงมกั ใชค้ าวา่ “การวัด
ประเมินผล” ในการออกแบบ การเรียนการสอนซ่ึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อพฒั นาผเู้ รียนให้บรรลุผลการเรียนรู้
น้นั การวดั ประเมินผลในที่น้ีจึง หมายถึงการวดั ประเมินผลการเรียนรู้ (assessment of learning) ซึ่งเป็ น
กระบวนการรวบรวมหลกั ฐาน ขอ้ มูลเชิงประจกั ษต์ ่าง ๆ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้เพื่อตดั สินคุณค่า
ในการบรรลุวตั ถุประสงคห์ รือ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ เป็ นการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงแสดงถึง
มาตรฐานทางวิชาการในเชิง สมรรถนะและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ สารสนเทศดงั กล่าวนาไปใชใ้ น
การกาหนดระดบั คะแนนให้ ผเู้ รียนรวมท้งั ใชใ้ นการปรับปรุงหลกั สูตรและการเรียนการสอน
(ราชบัณฑิตยสถาน, 2555, หน้า 37)
การวดั และประเมินการเรียนร
ู้
ผู้
เรียน
ค าถามที่ 1 : วัดและประเมินไปท าไม
เพื่อกาหนดจุดมุ่งหมายของการวดั และประเมิน
ค าถามที่ 2 : วัดและประเมินอะไร
เพื่อวเิ คราะห์เป้าหมายของการเรียนรู้ที่ตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึน
การเรียนรู้ทางด้านสติปัญญา (Cognitive Domain) เกี่ยวกบั ความรู้ ความจา ความคิด การ
แกป้ ัญหาต่าง ๆ
การเรียนรู้ทางด้านอารมณ์และความรู้สึก (Affective Domain) เช่น ความสนใจ ทศั นคติ
ค่านิยม คุณธรรม เป็ นตน้
ค าถามที่ 3 : วดั และประเมินอยา่ งไร
สร้างเครื่องมือ
ออกแบบการสร้างเครื่องมือ
ลงมือสร้างเครื่องมือ
ทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
ค าถามที่ 4 : ตัดสินผลด้วยวิธีการใด
ตดั สินคุณค่าของผลการเรียนรู้
รายงานผลและน าผลไปใช้ในการพัฒนา/ปรับปรุงการเรียนรู
ความหมายของค าศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
การวัด (Measurement) คือ กระบวนการกาหนดค่าใหแ้ ก่สิ่งต่าง ๆ อยา่ งมีกฎเกณฑ์ การวดั สิ่งใดก็
ตามจะ เกิดข้ึนไดต้ อ้ งอาศยั องคป์ ระกอบ 3 ส่วนไดแ้ ก่ 1. จุดมุ่งหมายของการวดั 2. เครื่องมือที่ใชว้ ดั 3.
การแปลผลที่ไดอ้ อกมาจะเป็ นปริมาณ ซ่ึงก็คือจานวนตวั เลข (Number) เพื่อแทนจ านวนหรือปริมาณ
หรือคุณภาพของ คุณลกั ษณะหรือคุณสมบตั ิของวตั ถุบุคคลหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ
การประเมินผล (Evaluation) คือ กระบวนการตดั สินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ โดยการเปรียบเทียบกบั
เกณฑ์ หรือมาตรฐานโดยอาศยั ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการวัดกระบวนการตัดสิน
คุ
ณค่าของสิ่งต่าง ๆ อยา่ งมีกฎเกณฑ์ การประเมินสิ่งใดก็ตามจะตอ้ งอาศยั องคป์ ระกอบ 3 ส่วนไดแ้ ก่ 1.
ผลจากการวดั 2. เกณฑท์ ี่ต้งั ไว้ 3. การตดั สินคุณค่า
การประเมิน = การวดั + การประเมินคุณค่า
การตีค่า/การประเมิน (Assessment) คือ กระบวนการรวบรวมและเรียบเรียงขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ ง
เป็ น ระบบสาหรับใชใ้ นการตดั สินใจเกี่ยวกบั ผเู้ รียนใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั ไปยงั ผเู้ รียน ใชต้ ดั สิน
ประสิทธิภาพในการจดั กิจกรรม การเรียนรู้และความพอเพียงของหลกั สูตร และใชช้ ้ีแนะนโยบาย
องค์ประกอบของผลการเรียนร
ู้
ตามแนวคิดและทฤษฎขี องบลูม
"บลูมไดจ้ าแนกการเรียนรู้ไดเ้ ป็ น 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ความรู้ความจา เป็ นความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้
และระลึกสิ่งน้นั ไดเ้ มื่อตอ้ งการ เปรียบดงั เทปบนั ทึกเสียงหรือวดี ีทศั น์
ความเข้าใจ เป็ นความสามารถในการจับใจความส าคัญของสื่อและสามารถแสดงออกมาในรูป
ของการขยายความหรือการกระท าอื่น ๆ
การนาความรู้ไปใช้ เป็ นข้นั ที่ผเู้ รียนสามารถนาความรู้ประสบการณ์ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั ความรู้ความเขา้ ใจ จึงจะสามารถนาไปใชไ้ ด้
การวเิ คราะห์ ผเู้ รียนสามารถคิด
องคป์ ระกอบที่สาคญั ได้ และมองเห็นความสัมพนั ธ์ของส่วนที่เกี่ยวขอ้ งกนั ความสามารถในการวเิ คราะห์จะ
แตกต่างกนั ไปแลว้ แต่ความคิด ของแต่ละคน
การสังเคราะห์ เป็ นความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนยอ่ ย ๆ เขา้ เป็ นเรื่องราวเดียวกนั อยา่ งมี
ระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกวา่ เดิม อาจเป็ นการถ่ายทอดความคิดออกมาใหผ้ อู้ ื่นไดเ้ ขา้ ใจได้
ง่าย การกาหนดวางแผนวธิ ีการดาเนินงานข้ึนใหม่หรืออาจจะเกิดความคิดที่จะสร้างความสัมพนั ธ์ของสิ่งที่
เป็ น นามธรรมข้ึนมาฝนรูปแบบหรือแนวคิดใหม่
การประเมินค่า เป็ นความสามารถในการตดั สิน ตีราคาหรือสรุปเกี่ยวกบั คุณค่าของสิ่งต่าง ๆ
ออกมาในรูปของคุณธรรมอยา่ งมีกฎเกณฑท์ ี่เหมาะสม ซ่ึงอาจเป็ นไปตามเน้ือหาสาระในเรื่องน้นั ๆ หรืออาจ
เป็ นกฎเกณฑท์ ี่ "สังคมขอมรับก็ได้