Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ, นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ
3.3กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ลักษณะของกฎหมาย
เป็นกฏหมายเอกชนเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคน
ความเสียหายในทางแพ่งจะมีผลกระทบต่อคู่กรณ๊เท่านั้น
การฟ้องร้องผู้เสียหายต้องฟ้องต่อศาลเอง หากมีการประณีประนอมระหว่างดำเนินคดี ถอนฟ้องได้
ความสัมพันธ์ของบุคคล
นิติกรรม
การกระทำของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและสมัครใจโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ เพื่อก่อการเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิ
ป.พ.พ.มาตรา149นิติกรรม
องค์ประกอบ
มีการกระทำ บอกกล่าวด้วยวาจา เป็นลายลักษณ์อักษร
การกระทำโดยชอบด้วยกฎหมาย
ประเภท
นิติกรรมฝ่ายเดียว
พินัยกรรม
นิติกรรมสองฝ่าย
สัญญา สัญญาว่าจ้าง สัญญาซื้อขาย
บุคคลที่กฎหมายถือว่าหย่อนความสามารถในการทำนิติกรรม
ผู้เยาว์
ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ อายุไม่ถึง 20 ปี
ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
คนไร้ความสามารถ
คนวิกลจริต ศาลจะแต่งตั้งผู้อนุบาลเป็นผู้ทำนินตกรรมแทน
คนเสมือนไร้ความสามารถ
ไม่สามารถจัดการงานตนเองได้
พิการ ฟั่นเฟือน
เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุราเมายา
สัญญา
การตกลงด้วยความสมัครใจระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไปเจตนาตรงกัน
แสดงเจตนาก่อน คำเสนอ อีกฝ่ายสนใจแสดงเจตนาตอบรับ คำสนอง
เมื่อคำเสนอและคำสนองตรงกันก็จะเกิดเป็นสัญญา
ละเมิด
งดเว้นการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคล สิทธิ กฎหมายกำหนดให้ผู้กระทำต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดจากการกระทำ
องค์ประกอบ
กระทำบุคคลอื่นโดยผืดกฎหมาย
การประทุษกรรมผู้อื่นโดยฝ่าฝืนกฎหมาย
ทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำโดยรู้สำนึก ทำให้เกิดความเสียหาย
เจตนาฆ่า
การกระทำโดยจงใจในละเมิดถือหลักเบากว่าทางอาญา
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
ต่อชีวิตหรือทรัพย์สิน
การชดใช้ค่าเสียหาย
ค่าสินไหมทดแทน
ชดใช้ให้กับผู้เสียหาย
ตกลงค่าสินไหมทดแทนตามที่ตกลงกัน
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ป.พ.พ.มาตรา443 ชดใช้ให้กับทายาท
ค่าปลงศพ
ค่าอุปการะเลี้ยงดู
ค่าขาดแรงงาน
ค่ารักษาพยาบาล
กรณีผู้เสียชีวิิตไม่ถึงแก่ความตาย ได้รับบาดเจ็บหรือพิการ
ค่ารักษาพยาบาลอันจำเป็น
ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้
ค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบอาชีพ
ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน ค่าทำขวัญ
ผู้ร่วมรับผิดในการกระทำละเมิด
ผู้กระทำต้องรับผิดชอบเฉพาะการกระทำของตน บางกรณีผู้ที่มีส่วนร่วมอาจต้องรับผิดในการละเมิด
ป.พ.พ.มาตรา429 กฎหมายกำหนดให้บิดามารดาหรือผู้อนุบาลต้องร่วมรับผิดชอบต่อผลของการละเมิดจากการกระทำของผู้เยาว์หรือคนวิกลจริตเว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าระมัดระวังสมคสรแก่หน้าที่แล้ว
ตัวการร่วมรับผิดชอบกับตัวแทน
ป.พ.พ.มาตรา427ให้ตัวการรับผิดต่อการกระทำ ซึ่งได้ทำไปในขอบอำนาจของตัวแทนซึ่งได้รับมอบหมายจากตัวการ
ร่วมกันทำละเมิด
ป.พ.พ.มาตรา432บุคคลหลายคนก่อความเสียหายต่อผู้อื่น ต้องร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทนกับความเสียหายนั้น จนกว่าจะรู้ว่าใครเป็นคนสร้างความเสียหายด้วย
สภาพบังคับขิงกฎหมาย
โมฆะกรรม
ความสูญเปล่าของนิติกรรม ไม่ได้ทำนิติกรรมขึ้น ผู้เสียหายไม่มีสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายให้อีกฝ่ายหนึ่งปฎิบัติตาม
ป.พ.พ.มาตรา150การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อย การนั้นเป็นโมฆะ
องค์ประกอบ
ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
กฎหมายห้ามกระทำ สัญญารับจ้างฆ่าคน
เป็นการพ้นวิสัย
ไม่สามารถทำได้ สัญญาชุบชีวิตคนตาย
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
ตกลงให้ยารุนแรงให้ผู้ป่วยตายพ้นจากทุกข์
โมฆียกรรม
นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ขณะทำ แต่อาจถูกฝ่ายที่เสียเปรียบบอกล้างได้ในเวลาต่อมา มีผลให้นิติกรรมสิ้นสุดลงเป็นโมฆะกรรม
องค์ประกอบ
นิติกรรใที่ทำขึ้นโดยผิดคุณสมบัติของคู่กรณี
ทำขึ้นโดยคู่สัญญาหย่อนความสามารถในการทำพินัยกรรม
การชดใช้ค่าเสียหาย
ผู้ที่ได้รับความเสียหายมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้กระทำผิดชดใช้ค่าเสียหาย
การบังคับชำระหนี้
อาจบังคับชำระด้วยเงิน หรือส่งมอบทรัพย์สินการสั่งให้กระทำ หรืองดกระทำขึ้นอยู่กับสภาพที่เกิดขึ้น
ความรับผิดทางแพ่ง
ความรับผิดตามสัญญา
เป็นการตกลงระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป กระทำหรืองดเว้นกระทำอับชอบด้วยกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำ การงดเว้นที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ทรัพย์และสิทธิต่างๆ
หลักสำคัญที่ถือว่าเป็นการละเมิด
การกระทำต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย
กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
ทำให้บุคคลอื่นเสียชีวิต ทรัพย์สิน
ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหม
พยาบาลต้องมีความรู้ในด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้การปฏิบัติงานในวิชาชีพปลอดภัยทั้งผู้รับบริการและพยาบาล
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
ใช้อำนาจเพื่อวางข้อกำหนดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไขในการปฏิบัติ
ข้อจำกัดและเงื่อนไข
1.ผู้ที่กระมรวงหรือสภากาชาดไทยจะมอบหมายให้ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ต้องเป็นบุคคลซึ่งระเบียบนี้กำหนด
2.บุคคลซึ่งได้รับมอบหมาย จะทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้เฉพาะ
2.1ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่ระเบียบกำหนด
2.2ปฎิบัติราชการ หรืออยู่ในสถานพยาบาลทางราชการเท่านั้น
2.3อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
3.บุคคลที่สามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
3.1พนักงานอนามัย
3.2เจ้าพนักงานสาธารณสุข
3.3ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
3.4ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
3.5พนักงานสุขภาพชุมชน
3.6ผู้ประกอบวีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง
3.7อสม.
การปฏิบัติการพยาบาลอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อร่างกายและทรัพย์สินของผู้ป่วย อาจทำให้เกิดการฟ้องร้อง พยาบาลจึงต้องรู้กฏหมาย
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่่อ
การกระทำโดยสำนึก ในการที่กระทำผู้กระทำประสงค์ต่อผลของการกระทำ
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ชดใช้ค่าขาดไร้อุปการะ
ชดใช้ค่าขาดแรงงาน
ชดใช้ค่าปลงศพ
กรณ๊ผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย
ชดใช้ค่าเสียความสามารถประกอบการงานในอนาคต
ชดใช้ค่าเสียหายอื่นมิใช่ตัวเงิน
ชดใช้ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ระหว่างป่วย
ความหมายของอายุความ
ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ บุคคลมีสิทธิเรียกร้องภายในระยะเวลา หากไม่ใช้สิทธิ ศาลยกฟ้องได้ เรียก สิทธิแห่งการเรียกร้องขาดอายุความ
3.4กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎหมายอาญา
กฎหมายมหาชน กำหนดความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับราษฎร เกี่ยวกับการ
กระทำที่เป็นความผิดและการลงโทษผู้ฝ่าฝืน เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลใหเอยู่ภายใต้ขอบเขต รักษษความเรียบร้อยของบ่านเมือง
ประเภท
ประมวลกฎหมายอาญา
กฎหมายที่รวบรวมการทำผิดสำคัญๆและบังคับใช้
ชิงทรัพย์ ฉ้อโกง ข่มขืน
กฎหมายอาญาประเภทอื่นๆ
กฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดเฉพาะเรื่องนอกจากที่ได้กล่าวไว้
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
ความผิดทางอาญา
การกระทำผิดที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ
ประเภท
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดร้ายแรง รัฐต้องเข้าไปดำเนินคดี
ความผิดต่อส่วนตัว
ความผิดที่ไม่ร้ายแรง ผู้เสียหายเท่านั้นที่จะฟ้องร้องได้เอง ถ้าผู้เสียหายไม่เอาเรื่อง รัฐไม่สามารถดำเนินคดีได้
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำนั้นกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้
กระทำโดยเจตนา หากกระทำโดยไม่เจตนา ต้องมีกฎหหมายกำหนดไว้ด้วยว่าต้องรับโทษ
ต้องมีการกระทำ
การเคลื่อนไหวภายใต้การบังคับจิตใจควบคุมได้
การกระทำโดยเจตนา
รู้ในการกระทำ ประสงค์ต่อผลของการกระทำ
กระทำโดยประมาท
ทำโดยไม่ได้เจตนา ไม่ระมัดระวัง ระมัดระวังไม่เพียงพอ
การกระทำโดยไม่เจตนา
ไม่ประสงค์ต่อผลจากการกระทำหรือประสงค์ผลอย่างหนึ่งแต่ผลเกิดรุนแรง
การกระทำโดยงดเว้น
บุคคลใดมีหน้าที่กระทำการใดเพื่อป้องกันผลร้าย ถือว่าหน้าที่นั้นเป็นผู้กระทำให้เกิดผลร้ายแรงเอง
ไม่มีกฎหมายยกเว้นความรับผิดชอบหรือยกเว้นโทษ
หน้าที่จักต้องกระทำอาจเกิดขึ้นได้
โดยกฎหมายบัญญัติ
บิดา มารดามีหน้าที่เลี้ยงดูบุตร
โดยการกระทำของผู้กระทำผิดเอง
ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ใดจำเป็นกระทำการเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือผู้อื่นให้พ้นอันตราย ถ้ากระทำพพอสมควรแก่เหตุการณ์กระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
หลักเกณฑ์
ต้องเป็นอันตรายอันละเมิดต่อกฎหมาย
อันตรายใกล้จะถึง
เป็นการกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของตนและผู้อื่น
ความยินยอม
การอนุญาตให้กระทำได้
องค์ประกอบ
ยินยอมโดยบริสุทธิ์ใจ
ความยินยอมต้องมีอยู่ในขณะกระทำผิด
ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมของประชาชน
เหตุยกเว้นโทษ
บางกรณีบุคคลกระทำผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ เพราะมีเหตุยกเว้นตามกฎหมาย
กระทำตามคำสั่งเจ้าพนักงาน
ผู้ที่กระทำตามคำสั่งเจ้าพนักงาน แม้จะผิดกฎหมาย แต่ทำด้วยความซื่อบริสุทธิ์ ผู้นั้นไม่รับโทษ เว้นแต่รู้ว่าคำสั่งนั้นผิดกฎหมาย
หลักเกณฑ์
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
คำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ผู้กระทำเชื่อว่าต้องปฏิบัติตาม
กระทำผิดเพราะไม่สามารถรู้ผิดชอบ
ไม่สามารถบังคับตนเองได้ บกพร่องทางจิต ไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิด ถ้าสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้นแต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนด
หลักการ
บังคับตนเองไม่ได่
จิตบกพร่อง
กระทำผิดด้วยความจำเป็น
อยู่ในที่บังคับ ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
ทำเพื่อให้ตนหรือผู้อื่นพ้นจากอันตราย อันตรายนั้นตนไม่ได้ก่อขึ้น
อายุความและโทษทางอาญา
การลงโทษผู้กระทำผิดมีกฎหมายกำหนดไว้ชัดเจน อยู่ในระยะของอายุความที่ศาลจะลงโทษ เมื่อหมดอายุความแล้วอัยการจะสั่งฟ้องผู้ต้องหาไม่ได้
สภาพบังคับของกฎหมาย
การลงโทษเพื่อให้สาสมกับความผิดที่ตนได้กระทำขึ้น
โทษ
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
ริบทรัพย์สิน
ปรับ
อาจเกิดปัญหาความผิดตามกฎหมาย หากไม่ระมัดระวังหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์
1.การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการประกอบวิชาชีพ
เห็นผู้อื่นตกอยู่ในอันตราย ซึ่งตนช่วยได้ แต่ไม่ช่วยมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ความผิด
ปฏิเสธไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยที่มาขอรักษาในรพ.
2.ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
ขืนใจให้จำยอม โดยทำให้กลัวจะเกิดอันตรายต่อชีวิตหรือทรัพย์สิน โดยใช้กำลัง มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย
มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.เปิดเผยความลับผู้ป่วย
5.ประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ทำผิดโดยไม่เจตนา ปราศจากความระมัดระวัง
6.ทำหรือรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
7.การทำให้แท้งลูก
มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เมื่อเกิดความจำเป็น กฎหมายอนุญาตให้แพทย์เป็นผู้ทำแท้งได้เท่านั้น
นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1 เลขที่ 4 612001004