Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่ใช้บ่อยในร้านยา, !, , - Coggle Diagram
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ที่ใช้บ่อยในร้านยา
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรในบัญชียาหลัก แห่งชาติ
เห็ดหลินจือ: ยาเย็นกระตุ้นภูมิคุ้มกันต้านมะเร็ง
หญ้าปักกิ่ง: ยาเย็นกระตุ้นภูมิคุ้มกัน / ต้านมะเร็ง / ต้านอนุมูลอิสระ
/ ต้านอักเสบ / ไม่แนะนำในไข้เลือดออก
รางจืด: ยาเย็นต้านพิษยาฆ่าแมลงสุราปสารเสพติด /
⚠️ ตะกั่วไม่แนะนำในไข้เลือดออก
ขมินชั้น: ยาร้อนกระตุ้นภูมิคุ้มกัน / ต้านมะเร็ง / ต้านอนุมูลอิสระ / ต้านอักเสบ
โสม: ยาร้อนปรับภูมิคุ้มกัน/กินอย่างน้อย 2 เดือนจึงเห็นผล
ลูกยอ: ยาร้อนกระตุ้นภูมิคุ้มกัน / ต้านมะเร็งเต้านอักเสบ
แปะก๊วย: ยาร้อนบำรุงสมอง / เพิ่มความจำ / ต้านมะเร็ง/
กินอย่างน้อย 3 เดือนจึงเห็นผล
ใช้ในโรคพื้นฐาน
แก้ร้อนใน
เป็ นน้อย: น้ำจับเลี้ยง น้ำเก๊กฮวย น้ำว่านกาบหอย
• เป็นมาก: ฟ้าทะลายโจร มะระขีนก บอระเพ็ด ยาเขียว
• หากมีอาการท้องผูกร่วมด้วย อาจใช้ยาขม
แกท้องผูก
ใยอาหาร: เมล็ดเทียนเกล็ดหอย รำข้าว ลูกพรุน
• ยาระบาย: ยาชงชุมเห็ดเทศ มะขามแขก น้ำฝักคูน ตรีผลา
• หากมีอาการปวดเรื้อรัง ร่วมด้วย อาจใช้ยาธรณีสันฑะฆาต
แก้ไข้
ไข้ตามทฤษฎีแพทย์แผนไทย มี 2 ความหมายคือ
1) ความเจ็บป่วยหรือ อาการไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
2) อาการของโรคที่ทำให้ตวั ร้อน
• ยาแก้ไข้ตามทฤษฎีแพทย์แผนไทย:
ยาเขียวหอม ยาจันทน์ลีลา ยาประสะจันทน์แดง
• ยาแก้ไข้ในท้องตลาดมัก เป็นยาเย็น (กิน>3 วัน ทำให้ชา)
ลดความร้อนในร่างกาย : ฟ้าทะลายโจร มะระขี้นก ยาห้าราก
แก้ไอ
ออกฤทธิ์เคลือบเยื่อบุทางเดินหายใจ
ลดอาการระคายเคือง: น้ำผึ้ง มะขามป้อม
• ออกฤทธิ์ ขับเสมหะ:
เหง้าขิง ผลดีปลี ผลพริกไทย เนื้อฝัก มะขามแก่น
น้ำมะนาว ผลมะขามป้ อม ผลบ๊วย ผลมะนาวดอง
• ออกฤทธิ์อื่น ๆ:
ผลมะแว้งเครือ ผลมะแว้งต้น เมล็ดเพกา
แกวิงเวียน
ระวัง : ผู้แพ้เกสร
• ยาหอม ช่วยปรับการไหลเวียนของลม
ด้แก่ ยาหอมนวโกฐ ยาหอมเทพจิตร
ยาหอมทิพโอสถ ยาหอมอินทจักร
แก้ปวด
• ยาภายนอก:
ครีมไพล น้ำมันไพล ครีมพริก
• ยารับประทาน:
เถาวัลย์เปรียง (SE กับ NSAIDs)
สหัสธารา
ยาสตรี
ในท้องตลาด มี2ชนิด
ยาขับเลือด
มีแอลกอฮอล์
สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทาน
ยาบำรุงเลือด ฟอกเลือด
มักไม่มีแอลกอฮอล์
ช่วยให้เลือดลมเดินดี เจริญอาหาร
เช่น ยาดองน้ำมะกรูด
ส่วนประกอบหลัก
ว่านชัก มดลูก โกฐเชียง โกฐหัวบัว โกฐสอ
ขิง ไพล พริกไทย เทียนดา เทียนแดง อบเชย
โกฐเชียง
และ
ว่านชักมดลูก
มี phytoestrogen
ช่วยปรับสมดุลฮอรโ์มนตามธรรมชาติ
:warning:แต่ไม่ควรใช้ระยะยาว
โกฐเชียง เสริมฤทธิ์ WARFARIN**
ใช้ในโรคเรื้อรัง :
เบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง กษัย
เบาหวาน:
มะระขี้นก อบเชย แห้ม
ความดันโลหิตสูง: กระเทียม มะรุม บัวบก
กษัย: ในท้องตลาด มักเป็นยากษัยเส้น(แก้ปวดเมื่อย)
เน้นการถ่ายเส้นและ บำรุงเส้น
เพื่อส่งเสริมสุขภาพ : ต้านอนุมูลอิสระ,
เพิ่มภูมิคุ้มกัน , ขับสารพิษ, ป้องกันมะเร็ง
อาการข้างเคียงจากสมุนไพร
• ผื่นขึ้นตามผิวหนัง ตาบวม ตาปิด ปากบวม
• เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
• หูอื้อ ตามัว ชาที่ลื้น ชาที่ผิวหนัง
รุนแรง
ต้องรีบไปพบแพทย์
• ใจสั่น ใจเต้นเร็ว รู้สึกวูบวาบคล้ายหัวใจหยุดเต้น
• ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเหลืองผิดปกติ
• ประสาทรับความรู้สึกทางานไวผิดปกติ เช่น
แตะที่ผิวหนังก็เจ็บ ลูบผมก็แสบหนังศีรษะ
Herb-drug interactions
1. Additive / Synergistic interactions
ขมิ้นชัน / ฟ้าทะลายโจรกระเทียม / ขิง / ตังกุย: เสริมฤทธิ์ warfarin
พริกไทย / ดีปลี: ⬆️เพิ่มระดับยา phenytoin / rifampicin / theophylline
มะระขึ้นกปรางจืด / หญ้าหนวดแมวกระเจี๊ยบแดง: เสริมฤทธิ์ยาลดน้ำตาล
Antagonistic / Opposing interations
ชาเขียว / ถั่วเหลือง / St John 's Wort: ต้านฤทธิ์ warfarin
สมุนไพรที่มีกากสูง: แมงลักบุก / เทียนเกล็ดหอย: รบกวนการดูดซึมยา
พิจารณาสปก. ในตำรับยา-ตังกุย / โกฐเชียง: ยาสตรียาหอมยาธาตุบางชนิด
พริกไทย / ดีปลี: ยาปลูกไฟธาตุยาธรณีสันฑะฆาต
การบูร: พิษต่อตับ + ไต: ยาหอมยาธาตุยากษัยเส้น
ข้อแนะนำในการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
สมุนไพรบางชนิดใช้เมื่อมีอาการเท่านั้นเช่นฟ้าทะลายโจร
(ป้องกันหวัดใช้ขนาดต่ำติดต่อกันไม่เกิน 3 เดือน)
สมุนไพรบางชนิดใช้ต่อเนื่องได้นานแต่ควรใช้ติดต่อกันไม่เกิน 6 เดือนหลังจากนั้นควรหยุด 2-3 เดือนโดยสังเกตอาการผิดปกติระหว่างใช้และตรวจติดตามการทำงานของตับและไต
สมุนไพรที่ใช้ควบคุมอาการของโรคเรื้อรังเช่นเบาหวานความดันโลหิตสูงไขมันในเลือดสูงต้องใช้คู่กับยาแผนปัจจุบันเพราะยาสมุนไพรใช้เวลา 2-3 สัปดาห์ในการออกฤทธิ์และติดตามประสิทธิภาพและความปลอดภัย
ผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดส่วนใหญ่ประกอบด้วยสมุนไพรมากกว่า 1 ชนิดยากต่อการคาดการณ์สรรพคุณควรสืบค้นข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ
!
,