Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก(Infertility), นางสาว นิชนันท์ เดชะบุญ ห้อง2B. เลขที่ 38…
ภาวะมีบุตรยาก(Infertility)
คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ทั้งที่ไม่ได้คุมกำเนิดและมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอเป็นระยะ1ปี
หรือในระยะ6เดือน คู่สมรสฝ่ายหญิงมีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป
ชนิด
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ (Primary infertility)
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากพยายามนานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ (Secondary infertility
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์ อาจจะสิ้นสุดด้วยการแท้งหรือคลอดก็ตามแล้วไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นระยะเวลากว่า12เดือน
สาเหตุ
สาเหตุจากฝ่ายหญิง (Female infertility)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ40
ท่อนำไข่ พบร้อยละ30
Endometriosis พบร้อยละ20
Immunological พบร้อยละ5
Other พบร้อยละ5
สาเหตุจากฝ่ายชาย (Male infertility)
Sperm dysfunction พบร้อยละ80
เชื้ออสุจิน้อย
เชื้ออสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
มีการเคลื่อนไหวน้อย
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายหญิง 21-25ปี มีความสามารถมีบุตรได้สูง
อายุฝ่ายชายมากกว่า55ปี จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิที่สร้างใหม่มีคุณภาพดีมากกว่าอสุจิที่สร้างนานและมีชีวิตในท่อนำไข่ประมาณ2 วัน
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครััง/สัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติ
การมีประจำเดือน
การผ่าตัด
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
การคุมกำเนิด
การดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
-Secondary sex โรคทางอายุรกรรมทำให้มีบุตรยาก
การตรวจต่อมไร้ท่อ(Hypothalamus,Pituitary,Thyriod
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
-PV,Wet smear,Culture
คอมดลูก
-PV ลักษณะทางกายวิภาค
ตัวมดลูก - PV ,Hysterosalpingogram,Endometrium biopsy,Hysteroscopy,U/S
ท่อนำไข่ -CO2 ,insufflation /Rubin test, Hysterosalpingogram ,Laparoscope
การประเมินท่อนำไข่ มดลูกและอวัยวะอุ้มเชิงกราน
สาเหตุของการมีบุตรยาก ร้อยละ30-50
อุดตันท่อนำไข่
การอุกเสบติดเชื้อในอุ้มเชิงกราน
ไส้ติ่งอักเสบ
การทำแท้ง
ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและX-ray
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้มเชิงกราน
เยื่อพังผืดในอุ้มเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endomrtrium biopsy, Serum progesterone
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ PCT(postcoitl test)
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดทั่วไป
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปสเจสเตอโรน
ก่อนมีประจำเดือน 1สัปดาห์
มากกว่า5u/dL =มีการตกไข่
มากกว่า10u/dL =มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้ว
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูก/postcoital test
การตรวจวัด basal body temperature/BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิ/sperm function test *ไม่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน
การทำ post coital test
เพื่อดูมูกที่มดลูกและดูแลความสามารถของอสุจิ
ระยะที่เหมาะสมในการตรวจ1-2 วัน ก่อนการตกไข่
มีเพศสัมพันธ์กันหลังงดเป็นเวลา 2-3วัน
ให้ตรวจประมาณ 9-24 ชั่วโมงหลังจากนั้น
1.การตรวจใช้ syringe เล็กๆดูดมูดบริเวณ posterior fornix มาป้านบนแผ่นสไลด์เพื่อดูว่ายังมีการคงตัวของอสุจิ
2.ดูดจากช่องคอมดลูกและยืดดู ช่วงตกไข่มูกจะใสและยืดได้ยาวก่อนขาดกัน(ยืดได้มากกว่าหรือเท่ากับ10cm.และปล่อยแห้งตกผลึกเป็นรูปใบเฟิร์นแปลว่ามีการตกไข่) จากนั้นนำไปส่องกล้องจุลทรรศน์ดูการเคลื่อนไหวของอสุจิ
หากพบอสุจิเคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน 5 ตัว/HPF แสดงว่าอสุจิสามารถว่ายผ่านมูกได้และมูกที่ปากมดลูกทำหน้าที่เป็นแหล่งกักเก็บอสุจิและส่งขึ้นไปในโพรงมดลูก
หากพบอสุจิไม่มีการเคลื่อนไหวเลย อาจเกิดการอักเสบโพรงมดลูก หากตรวจพบเม็ดเลือดขาวร่วมด้วย/อวัยวะที่ปากมดลูกมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิ
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
ประวัติ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต เช่น โรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ โรคเบาหวาน โรคของต่อมไร้ท่อ การสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์
การดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การตรวงร่างกาย
การตรวจระบบสืบพันธ์
หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ(Varicocele) Hydrocele
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดทั่วไป
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
ปริมาตร(volume) มากกว่าหรือเท่ากับ 2 มล.
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ มากกว่าหรือเท่ากับ 20 ล้านตัว/มล.
จำนวนของตัวอสุจิทัังหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 40ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ50 เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ14 รูปร่างปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาวน้อยกว่า 1 ล้านตัว/มล.
pH=7.2หรือมากกว่า
การมีชีวิตมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ75
งดมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
ส่งตรวจภายใน1ชั่วโมง
ใส่ภาชนะที่เตรียมไว้เท่านั้น
ไม่แนะนำการหลั่งข้างนอกและใช้ถุงยางอาจมีสารทำลายอสุจิ
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ(Unexplained infertility)
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากครบตามมาตรฐาน แต่ไม่พบความผิดปกติ
การรักษาการมีบุตรยาก
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมธ์(Timing intercourse)
การกระตุ้นไข่(Ovulation induction)
การผสมเทียม
การใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปในอวัยวะสืบพันธ์ุุของสตรี ช่วงไข่ตก
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง(Intra-uterine insemination(IUI) Artificial insemination
การคัดแยกน้ำอสุจิฉีดเข้าโพรงมดลูกขณะไข่ตก ไปทางท่อนำไข่และผสมด้วยตัวเอง
3D animation of hoe IUI works
ใช้ยากระตุ้นให้ไข่ตกมากกว่า1ใบ
วิธีนี้ไม่เหมาะสมกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมึผังผืดขวาง
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
มีปัญหาเรื่องอสุจิ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร(Assisted Reproduction Technology :ART)
การกระตุ้นการตกไข่
การให้ GnRH เป็นระยะ กระตุ้นการหลั่ง FSH และ LH หรือใช้ยาฮอร์โมนสังเคราะห์ไปกีดกันการทำงานของอีสโทรเจนที่ยัับยั้งการทำงาน GnRH ทำให้ตกไข่มากกว่า 1 ใบ จะนำไข่มาเลือกใบที่แข็งแรงมาปฏิสนธิภายนอก
GIFT(Gamete Intrafallopian Transfer)
การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังกระตุ้นไข่เพื่อชักนำให้สุกหลายใบ และเจาะดูดไข่ออกมาแล้วนำไข่ 3-4 ใบ มารวมกับอสุจิที่คัดแยกแล้ว จากนั้นฉีดผ่านท่อนำไข่ทันทีเลียนแบบธรรมชาติ
กรณีไม่มีปัญหาที่ปีกมดลูก
ZIFT(Zygote Intrafallopian Transfer)
คล้ายเด็กหลอดแก้ว
ผสมและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเกิดการปฏิสนธิจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่
IVF(In Vitro Fertilization)
การปฏิสนธิภายนอกร่างกายและย้ายตัวอ่อน(เด็กหลอดแก้ว)
ผสมไข่และเชื้ออสุจิ โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้แบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์ใช้เวลาเลี้ยง 2-5 วันจากนั้นนำตัวอ่อนเข้าไปในโพรงมดลูก
การเก็บไข่ แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง/ผ่านทางหน้าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม โดยการหลั่งภายนอก เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านััน สามารถเก็บในไนโตรเจนเหลวเป็นเวลาหลายปี
ข้อบ่งชี้
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อพังผืดในอุ้มเชิงกราน
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ความผิดปกติของโพรงมดลูก
ความผิดปกติของการตกไข่
สาเหตุจากฝ่ายชาย
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
Micromanipulation
การใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ ให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรู/ฉีดเข้าใต้เปลือกไข่ หรือแม้แต่การฉีดเชื้ออสุจิเข้า Ooplasm โดยตรง
วิธีที่นิยม
อิ๊กซี่(Intracytoplasmic Sperm Injection; ICSI)
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์โดยตรง ทำโดยภายใต้กล้องขยายกำลังสูง จะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อน เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมาก(Oligozoospermia)
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี(Asthenozoospermia)
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ(Teratozoospermia)
การทำการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
Retrograde ejeculation
Immunological factor
ผู้ชายเป็นหมัน ปัจจุบันนำอสุจิออกจากอัณฑะหรือท่อนำน้ำอสุจิส่วนต้นนำมา ICSI
นางสาว นิชนันท์ เดชะบุญ ห้อง2B. เลขที่ 38 รหัสนักศึกษา 613601146