Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๓ หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ - Coggle Diagram
บทที่ ๓ หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
การบริหารงานบุคคล
(ทรัพยากรที่สำคัญที่สุด)
หลักการบริหารงานบุคคล
ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System)
เป็นระบบการบริหารงานบุคคลที่ตรงข้ามกับระบบ
คุณธรรม ส่วนใหญ่จะยึดถือหลักพวกพ้อง เครือญาติ หรือมีผู้อุปการะ
ระบบคุณธรรม (Merit System)
หลักความเสมอภาค (equality of opportunity) เช่น ให้สิทธิสมัครสอบได้ทุกคน
หลักความสามารถ (Competency) เช่น คัดเลือกผู้ที่มีความสามารถสูงไว้บรรจุก่อน
หลักความมั่นคง (Security of tenure) เช่น ถ้าไม่กระทำผิดวินัยจะไม่ลงโทษ จะให้อยู่ในองค์การจนกว่าจะเกษียณอายุ
หลักการเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality) เช่น ห้ามข้าราชการเป็นกรรมการบริหารพรรคการเมือง
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
การสรรหาและการคัดเลือก
1.กำหนดนโยบายการสรรหา (Recruiting Policies) โดยนำข้อสรุปจากการวิเคราะห์งานมากำหนดคุณสมบัติบุคลากรที่ต้องการ รวมทั้งเงินเดือน/ค่าจ้าง
2.กำหนดแหล่งสรรหาบุคลากร (Source of recruitment)
ภายในหน่วยงาน (In Sourcing)
เช่น การโยกย้าย การใช้ระบบอาวุโส
ภายนอกองค์การ (Out Sourcing)
เช่น ผู้ประกอบอาชีพอิสระ หน่วยงานของรัฐ
การพัฒนาบุคลากร
การฝึกอบรมทางด้านความรู้ (Knowledge Skill)
การฝึกอบรมทางด้านเทคนิค (Technical Skill)
การฝึกอบรมทางด้านมนุษยสัมพันธ์(Human Skill )
การฝึกอบรมทางด้านความคิด (Conceptual Skill)
การบำรุงรักษาบุคลากร
(การจูงใจ motivation)
แรงจูงใจภายใน
เกิดจากความทะเยอทะยาน ในความต้องการก้าวหน้าในอาชีพ
ความสนใจ ที่ต้องการให้งานสำเร็จภายในเวลารวดเร็ว
มีความคาดหวัง คำชมเชย หรือ บำเหน็จรางวัล
แรงจูงใจภายนอก
ความมั่นคงต่อการทำงานและโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ
เงินเดือน
สถานที่ทำงานมีสิ่งอำนวยความสะดวก มั่งคง
ปลอดภัยผู้ร่วมงาน
มีอิสระในการทำงาน การแสดงความคิดเห็น
คำติชม รางวัล การทำโทษ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มีหลักการพิจารณา ๒ ส่วน
การประเมินคุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน เช่น ความร่วมมือในการทำงาน ความสามัคคี
การประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
Self-Appraisal การประเมินตนเอง
Management by objectiveยึดเป้าหมายที่กำหนดเป็นเกณฑ์
Psychological Appraisal/Competency Appraisal การประเมินผลเชิงจิตวิทยา มักใช้กับองค์กรขนาดใหญ่
Assessment Centers ศูนย์ประเมิน ใช้การประเมินหลายรูปแบบและมีผู้ประเมินหลายคน
การบริหารพัสดุ
ความหมาย
พัสดุ : วัสดุครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
วัสดุ : สิ่งของที่มีลักษณะไม่คงทนถาวรใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไปหรือสลายตัวไปในระยะสั้น
ครุภัณฑ์ : สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรมีอายุการใช้งานยาวนานไม่เป็นของใช้สิ้นเปลือง
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
วางแผน / กำหนดโครงการ
กำหนดความต้องการ
จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง
4.การแจกจ่าย
การบำรุงรักษา
การจำหน่าย
การบริหารงบประมาณ (Budget)
ผู้บริหารจะต้องตระหนัก และเห็นความสำคัญของงบประมาณว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการ
บริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ
ผู้บริหารจะต้องจัดองค์กรและวางแผนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับงบประมาณที่เป็นอยู่
ผู้บริหารจะต้องจัดบุคลากร ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานงบประมาณ ที่ต่อเนื่องและมีข้อมูลในด้าน
ต่างๆไว้พร้อม
ผู้บริหารจะต้องจัดเครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็นในการบริหารงานงบประมาณไว้ครบถ้วน เพื่อให้
การจัดทำงบประมาณเป็นไปด้วยความรวดเร็ว
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive) เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลง
จากผู้อื่น
การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ (Reactive) เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเองไม่ยอมที่จะ
เปลี่ยนแปลง หรือมีความคิดติดยึดในแนวทางเดิมๆมานาน
การขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)