Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม - Coggle Diagram
การช่วยเหลือการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม
การดูแลช่วยเหลือการพยาบาลศัลยกรรมแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะผ่าตัด
การจัดท่านอน
การดูแลความปลอดภัย
ระยะหลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผู้ป่วยได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การพยาบาลผู้ป่วยหลังได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่
การรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การบรรเทาอาการปวด
3.1.ยาระงับความรู้สึก
3.1.1 การให้ยาก่อนระงับความรู้สึก ยานี้แพทย์ท าผ่าตัดหรือแพทย์วิสัญญีเป็นผู้พิจารณาให้ ขึ้นกับผู้ป่วย
3.1.2 การใหย้าระงบัความรู้สึกประเภทของยาระงบัความรู้สึก
3.1.3 ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ (Regional or Local anesthesia )
การ หยอด ทา พ่น ยาชาลงเฉพาะที่ (Topical anesthesia)
การฉีดบริเวณรอบ ๆ กลุ่มประสาทที่ไปเลี้ยงบริเวณที่จะท าผ่าตัด (Nerve block)
การฉีดเข้าไปที่ไขสันหลัง (Spinal anesthesia) ฉีดเข้าน้ำไขสันหลัง (subarachnoid space) มีผลให้ตั้งแต่กระบังลมลงมาหมดความรู้สึก ใช้กับการผ่าตัดที่เกี่ยวกับอวัยวะใต้กระบัง ลมลงไป เช่น ผ่าตัดไส้ติ่ง มดลูก
การฉีดเข้าเยื่อหุ้มไขสันหลังชั้นนอก (Epidural space) ทำให้หมดความรู้สึกบริเวณลา ตัว ถึงปลายเท้า ต ่ากว่าระดับที่ฉีดยาชาลงมา ใช้ในการผ่าตัดส่วนล่างของร่างกาย อุ้งเชงิกรานและขา ทั้งสองข้าง
การฉีดพ่นบนผิวหนัง (Local anesthesia)
ระยะก่อนผ่าตัด
1.1 การเตรียมผู้ป่วยด้านจิตใจ
1.2 การเตรียมผู้ป่วยด้านร่างกายก่อนการผ่าตัด
สิ่งที่ต้องคำนึงในการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดระยะแรก คือ
2.หมั่นวัดสัญญาณชีพซึ่งจะบอกความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้ เช่น การตกเลือด การหยุดหายใจ
3.ระวังการได้รับบาดเจ็บโดยไม่จำเป็น เช่น ตกเตียง ขาฟาดเหล็กกั้นเตียง
1.ระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยต้องโล่ง ป้องกันการสำลัก อาเจียน หรือ น้ำลายเข้าไปในปอด
4.ต้องอยู่กับผู้ป่วยตลอดเวลาจนกว่าจะรู้สึกตัวดี
การดูแลหลังผ่าตัดระยะหลังโดยทั่วไป
การดูแล ป้องกันการสำลักน้ำ น้ำลาย อาเจียน เข้าไปในปอด พลิกตัวผู้ป่วยบ่อยๆ ให้ผู้ป่วยมีการ เคลื่อนไหว หรือลุกจากเตียงให้เร็วที่สุด ให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ และไอ ยกเว้นในรายที่ท าผ่าตัดที่ ต้องการให้อยู่นิ่งๆ เช่น การผ่าตัดตา หู การหายใจลึกๆจะท าให้ปอดขยายได้เต็มที่ การไอเพื่อ ขจัดเสมหะ
วิธีการสอนให้ผู้ป่วยฝึกการหายใจ
วางมือบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วใหก้า มือหลวมๆ ใหเ้ล็บมือสัมผัสกับหน้าอก เพื่อจะ ได้รู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของปอด
จัดท่านอนหงายศีรษะสูง
ให้ผู้ป่วยค่อยๆหายใจออกยาวๆให้เต็มที่ กระดูกซี่โครงจะลดต ่าลง
ให้หายใจยาวๆลึกๆ ทั้งทางจมูกและปาก เพื่อปอดจะขยายได้เต็มที่ กลั้นหายใจไว้ ให้ผู้ป่วยนับ 1-5 แล้วจึงค่อยปล่อยลมหายใจออกทั้งทางจมูกและปาก
ท าซ ้าประมาณ 15 ครั้ง ในขณะที่ฝึกให้พักเป็นช่วง ๆ เป็นระยะ ๆ หลังจากที่ฝึก หายใจ 5 ครั้งติดต่อกัน ให้ฝึกวันละ 2 ครั้งก่อนผ่าตัด
วิธีการสอนให้ผู้ป่วยฝึกการไอ
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้า ออก ตามวิธีที่ฝึกข้างต้นก่อน
ให้หายใจเข้าเต็มที่ อ้าปากเล็กน้อย
ให้ผู้ป่วยประสานมือทั้ง 2 ข้าง และกดเบาๆ เหนือบริเวณที่คาดว่าจะมีแผลผ่าตัด ทั้งนี้เพื่อช่วยท า ให้แผลอยู่นิ่งระหว่างการไอ เพื่อลดอาการเจ็บขณะที่ไอ
ให้ผู้ป่วยไอ 3-4 ครั้ง
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
ให้ผู้ป่วยอ้าปาก หายใจลึกๆ และไอแรงๆ อย่างเร็ว 1-2 ครั้ง เสมหะที่มีอยู่ในปอดออกมาได้
ปัญหาทางการพยาบาลที่พบบ่อยในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1.1 การลดต ่าของออกซิเจนในปอด
1.2 มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ เนื่องจาก
❖ลิ้นตกลงไปด้านหลัง
❖มีสิ่งแปลกปลอมตกลงไปในหลอดลม เช่น ลิ่มเลือด น้ำลาย
❖กล้ามเนื้อกล่องเสียงหดเกร็ง พบได้บ่อยในผู้ป่วยหอบหืด
1.3 การหายใจไม่เพียงพอ แม้ไม่มีการอุดกั้นในทางเดินหายใจ
1.4 ผู้ป่วยต้องการออกซิเจนมากขึ้น จากอาการหนาวสั่น