Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพ (Functional Health Pattern) - Coggle Diagram
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพ (Functional Health Pattern)
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
1. แบบแผนการประเมินสุขภาพ (Functional health pattern) เป็นกรอบแนวคิดที่ มาร์จอรีย์ กอร์ดอน(Marjor
y)
พฤติกรรมภายใน
เช่น ความรู้สึก นึกคิด ค่านิยม
พฤติกรรมภายนอก
1.พฤติกรรมที่เป็นคำพูด (verbal behavior)
2.พฤติกรรมที่ไม่ใช่คำพูด (Non -verbal behavior)
ระบบต่างๆของร่างกาย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินภาวะสุขภาพ
1 ข้อมูลอัตนัย (SUBJECTIVE DATA) เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับความรู้สึก หรืออาการ(SYMPTOM)
.2 ข้อมูลปรนัย (OBJECTIVE DATA) เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกตโดยตรง โดยอ้อม
การตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูล (VALIDATION OF ASSESSMENT DATA)
การตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูล
จะช่วยทำให้ข้อมูลมีความสมบูรณ์ชัดเจนมากขึ้น
การซักประวัติผู้ป่วยจัดเป็นการรักษาพยาบาลอันดับแรก
รวบรวมข้อมูล เรื่องราวความเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ทราบถึงสุขภาพของผู้ป่วยว่าเป็นคนมีสุขภาพอย่างไร
เกิดความร่วมมือในการรักษาพยาบาลผู้ป่วย
เกิดสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย
การเตรียมพร้อมก่อน และเริ่มสัมภาษณ์ทาอย่างไร
ศึกษาข้อมูลก่อนการสัมภาษณ์
เริ่มสัมภาษณ์ควรแนะนาตัวเอง บอกวัตถุประสงค์และลาดับขั้นตอน
บันทึกข้อมูลที่ผู้รับบริการให้อย่างเป็นระบบ
ข้อมูลพื้นฐานของประวัติควรได้ครบถ้วน
ข้อมูลส่วนบุคคล
รายได้ของครอบครัว
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรค
การผ่าตัด
ประวัติทางการพยาบาล
อาการสำคัญนำส่ง
(CHIEF COMPLAINT) อาการส าคัญ 1-2 อาการที่ทาให้ผู้ป่วยต้องมาโรงพยาบาลและระบุระยะเวลาที่มีอาการนั้นมาด้วย
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
(PRESENT ILLNESS)
1 วันก่อนมา
5 ชั่วโมงก่อนมา
2 ชั่วโมงก่อนมา
การรวบรวมประวัติเจ็บป่วยปัจจุบันจะต้องครอบคลุมถึง
ระยะเวลาที่เริ่มเกิดอาการ ( ONSET)
ลักษณะของการเกิดอาการหรือโรค (CHARACTER)
ตำแหน่งของอาการ
(LOCATION)
การเริ่มต้นและการแพร่กระจายขออาการ(RADIATION)
ความรุนแรง (QUANTITY OR SEVERITY)
ระยะเวลาที่เป็น (TIMING)
สภาพแวดล้อมที่เกิดอาการรวมสิ่งแวดล้อม อารมณ์หรือเกิดขณะทาอะไร (SETTING)
สิ่งที่ทาให้เป็นมากขึ้นหรือน้อยลง (REMITTING OR EXACERBATING FACTOR)
ผลกระทบต่อการทางานและชีวิตประจาวัน (EFFECT OF SYMPTOMS)
อาการร่วม (ASSOCIATED MANIFESTRATION)
ประวัติทางการพยาบาล (ต่อ)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
(PAST HISTORY)
ประวัติโรคภูมิแพ้
ประวัติปัญหาสุขภาพที่ผ่านมา
ประวัติการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ประวัติการได้รับอุบัติเหตุการผ่าตัด การได้รับบาดเจ็บการได้รับเลือด
ประวัติการผ่าตัดคลอด การตั้งครรภ์การคลอดบุตร
ประวัติด้านสภาพอารมณ์หรือจิตเวช
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
(FAMILY HISTORY)
อันเป็นสาเหตุการตายของญาติพี่น้องและบุคคลในบ้านเดียวกัน
เน้นที่ประวัติที่สัมพันธ์กับอาการผู้ป่วยและโรคทางพันธุ์กรรม
การบันทึกประวัติครอบครัวเขียนเป็นแผนภูมิที่เรียกว่าแผนผังเครือ ญาติ
การประเมินทางด้านจิตสังคม
1 .วิธีการพูดจาติดต่อสื่อสารที่ใช้และปัญหา
อารมณ์และพฤติกรรมที่แสดงออกขณะประเมิน
3 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุความเจ็บป่วย
ความรู้สึก/การรับรู้ของผู้ป่วยและครอบครัวต่อความเจ็บป่วย
ความคาดหวังของผู้ป่วย/ครอบครัวต่อการรักษา/การพยาบาล
ผลกระทบต่อความเจ็บป่วยต่อภาวะเศรษฐกิจของครอบครัวการเจ็บป่วยของผู้ป่วยมีผลกระทบต่อบทบาทของสมาชิกในครอบครัวอย่างไร
ผลกระทบต่อความเจ็บป่วยต่อบทบาทและสัมพันธภาพในครอบครัว
การประเมินด้านจิตวิญญาณ
เป็นการตอบสนองความต้องการทางด้านจิตใจเกี่ยวกับความเชื่อทางด้านศาสนา หรือเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
ประวัติส่วนตัว (PERSONAL HISTORY) และแบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน
แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพ และการดูแลสุขภาพ (Health perception- HealthmanagementPattern)
1.1. การรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเองและผู้ที่ตนรับผิดชอบ
1.2. การดูแลสุขภาพของตนเอง และผู้ที่ตนรับผิดชอบ
2. แบบแผนโภชนาการ และการเผาผลาญอาหาร
(Nutritional – metabolic Pattern)
2.1 อาหาร และภาวะโภชนาการ
2.2 การเผาผลาญสารอาหาร
2.3 น้ า และอิเล็คโทรไลต
2.4 อุณหภูมิของร่างกาย
2.5 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
2.6 ผิวหนังและเยื่อบุ
2.7 ภูมิคุ้มกันโรค
3. แบบแผนการขับถ่าย
(Elimination Pattern)
3.1 การขับถ่ายอุจจาระ
3.2 การขับถ่ายปัสสาวะ
4. แบบแผนกิจกรรม และการออกกำลังกาย
(Activity- exercise Pattern)
4.1 การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวันและการออกกาลังกาย
4.2 การท างานของโครงสร้าง (กระดูก้อ และกล้ามเนื้อ)
4.3 การท างานของระบบหายใจ
4.4 การท างานของระหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
5 แบบแผนการนอนหลับ
(Sleep-rest Pattern) เป็นแบบแผนปัญหาที่เกี่ยวกับการนอนหลับ การพักผ่อนปัญหาเกี่ยวกับการนอน ปัจจัยส่งเสริมปัจจัยเสี่ยง และอุปสรรคต่อแบบแผนการนอน
6. แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
(Cognitive- perceptual Pattern)
6.1 การรับรับรู้และการตอบสนอง
6.2 เป็นแบบแผนเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลในการรับรู้สิ่งเร้าและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้านการรับรู้ความรู้สึก (Sensation)
6.3 ความสามารถทางสติปัญญา
ประวัติส่วนตัว (PERSONAL HISTORY) และแบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน (ต่อ)
7. แบบแผนการรับรู้ตนเอง และอัตมโนทัศน์
(Self perception– Self concept Pattern)
ได้แก่
ทัศนคติเกี่ยวกับตนเอง การรับรู้ความสามารถภาพลักษณ์ และเอกลักษณ์ของตนเองที่เปลี่ยนแปลงไปภายหลังเจ็บป่วย
8. แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
(Role-relationship Pattern) เป็นแบบแผนที่เกี่ยวกับเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ การติดต่อสื่อสาร และการมีสัมพันธภาพกับบุคคลทั้งภายในครอบครัวและสังคม
9. แบบแผนเพศ และการเจริญพันธุ์
(Sexuality-reproductive Pattern)ได้แก่ เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเพศ
10. แบบแผนการปรับตัว และการเผชิญความเครียด
( Coping –stress tolerance Pattern)
11. แบบแผนค่านิยม และความเชื่อ
(Value – belief Pattern)
จุดเด่นและจุดด้อยของแบบแผนสุขภาพ
จุดเด่น
เป็นแบบแผนที่กว้างและยืดยืดหยุ่น
ไม่ได้เน้นเฉพาะผู้เจ็บป่วย
แบบแผนทั้ง 11 แบบแผน
กระตุ้นให้เตือนให้พยาบาลมองภาวะสุขภาพของผู้รับบริการเป็นองค์รวม
สามารถน าไปใช้ในการก าหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลรูปแบบของ NANDA ได้
จุดด้อย
แบบแผนบางแบบแผนมีขอบเขตที่กว้างมาก
บางแบบแผนมีความซ้ำซ้อนกัน