Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหลอดเลือดและการไหลเวียน, เข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015 -…
ความผิดปกติของหลอดเลือดและการไหลเวียน
ความดันโลหิตสูง
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความดันโลหิต
Blood volume
Resistance
Cardiac output
ความดันโลหิตที่สูงมากขั้นวิกฤติ
Hypertensive urgency ความดัน 180/110 แต่ไม่มีอวัยวะเป้าหมายที่สำคัญถูกทำลาย
Hypertensive emergency ความดัน 180/110 และมีสัญญาณของอวัยวะเป้าหมายที่สำคัญถูกทำลาย
สาเหตุของทุติยภูมิ
ความผิดปกติของเนื้อไต
โรคของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติทางระบบประสาท
การได้รับยาบางชนิด
อาหารที่มีสารธัยรามีน
ภาวะเครียดเฉียบพลัน
ความปิดปกติของหลอดเลือด
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
Renovascular disease , Pheochromocytoma
อาการ
เวียนศีรษะ มึนงง อาจมีอาการคล้ายจะเป็นลม
เลือดกำเดาไหลแต่ไม่บ่อย
ปวดศีรษะ ลักษณะอาการมักปวดที่ท้ายทอย
หายใจลำบากขณะออกแรงและทำงาน
สูงเล็กน้อยหรือปานกลางมักไม่มีอาการแสดง
อาการเจ็บหน้าอก
การประเมิน
การตรวจ ตรวจหัวใจหลอดเลือด สมอง ไตและตา
การตรวจพิเศษ EKG, Film chest
ความเครียดวิตกกังวล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบแผนการดำเนินชีวิต อาชีพ การรับประทานอาหาร
การซักประวัติเจ็บป่วย ครอบครัว การวัด BP ที่ถูกต้อง
การพยาบาล
การรักษาแบบไม่ใช้ยา
การออกกำลังกาย โดยใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ๋ ประเภท Aerobic exercise
การลดความเครียด การจัดการอารมณ์ที่ดี
การลดน้ำหนัก นนลด 1 กก สามารถลดระดับความดันโลหิตลงได้ 2-3 mmHg
งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่
การลดเกลือไม่เกิน 2400 mg/day น้ำปลา 5-6 ช้อนชา/วัน
การรักษาโดยการใช้ยา
กลุ่ม ACEI
diuratic
Calcium channel blocker
Thiazide
beta blocker
Loop diuretic
Potassium sparing diuretic
โรคหลอดเลือดสมอง
การประเมินผู้ป่วย
ประวัติ
การเจ็บป่วยที่ผ่านมา
ปรวัติโรคหลอดเลือดสมอง
ระยะเวลาที่มีอาการ
โรคร่วม ความดัน เบาหวาน
ผู้เห็นเหตุกาณ์
การตรวจร่างกาย
อ่อนแรงของร่างกายครึ่งซีก
เวียนศีรษะร่วมกับเดินเซ
ตามัวหรือมองเห็นภาพซ้อน
พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง
ปวดศีรษะ อาเจียน
ซึม ไม่รู้สึกตัว
การตรวจพิเศษ เช่น CT MRI
อาการ
ระยะเฉียบพลัน เป็นระยะ 24-48 ชั่วโมง ผู้ป่วยหมดสติ ภาวะความดันในกะโหลกสูง ระบบหายใจผิดปกติ
ระยะหลังเฉียบพลัน เป็นระยะที่มีอาการคงที่ 1-4 วัน
ระยะเริ่มฟื้นฟูอาการ 3 เดือนแรก
การรักษา/การพยาบาล
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการเตือน Stroke แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
กรณีที่เป็น Stroke ที่หลอดเลือดแตกและมีเลือดออกในสมอง ต้องรักษาโดยการผ่าตัด
การรักษา Ischemic stroke
การให้ยา ASA 48 ชั่วโมง
การให้การพยาบาลขณะและหลังในยาละลายลิ่มเลือด
ให้ยาละยลายลิ่มเลือด
ประเภทของ Stroke
Ischemia stroke
Thrombosis
Emboli
Hemorrhagic
Intracerebral hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
ข้อห้ามการให้ยาละลายลิ่มเลือด
มีอาการเลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มสมอง
มีอาการทางระบบประสาทที่ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว
มีอาการของโรคในเวลาที่ไม่ชัดเจน
มีอาการชัก
ความดันโลหิตสูง > 185/110
มีประวัติเลือดออกในสมองภายใน 3 เดือน
ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเกล็อดเลือดภายใน 48 ชั่วโมง
มีปริมาณเกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000
มี Hct น้อยกว่า 25%
มีประวัติผ่าตัดใหญ่ 14 วัน
เลือดออกในทางเดินอาหาร 21 วัน
มี BS < 50 mg/dl หรือ >400 mg/dl
มีอาการที่ผิดปกติของสมอง
Thrombopheblitis
สาเหตุ
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตันโดยลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ
อ้วน ตั้งครรภ์ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
อาการ
บวม แดง
มีการขาดเลือดของอวัยวะที่มีการอุดตัน เช่น อวัยวัส่วนปลายบวม ซีด ปวดน่องเวลากระดกนิ้ว
ปวดบริเวณที่หลอดเลือดอักเสบ
การรักษา
ให้ยาขยายหลอดเลือดและยาละลายลิ่มเลือด
ถ้ารักษาด้วยยาไม่ได้ผลทำการผ่าตัดขยายหลอดเลือดหรือเอาก้อนเลือดออก
การพยาบาล
ใส่ผ้ายืดหรือถุงน่องรัดขาไว้ สังเกตอาการเลือดออกจากการให้ยาละลายลิ่มเลือด
ห้ามใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมน
ห้ามวิ่ง เดินนาน
ดูแลไม่ให้เกิดซ้ำโดยการจัดการปัจจัยเสี่ยง
ลดน้ำหนัก
หลอดเลือดดำและแดงอักเสบ
อาการ
เป็นตะคริวที่เท้าและน่องบ่อยหลังเดินหรือออกกำลังกาย
อาการหายเมื่อพัก
ปวดน่องเวลาเดิน
อาการนี้เรียกว่า Intermittent Claudication
อาการปวดบริเวณขาและหลังเท้ารุนแรง
การวินิจฉัย
เบื้องต้นจากประวัติ
การตรวจ ABI หรือ Droppler ultrasound, Artheriograms
การรักษา/การพยาบาล
ให้ยาขยายหลอดเลือด แก้ปวด ตามอาการ
ให้ยา NSAID เมื่อมีอาการหลอดเลือดดำอักเสบ
รักษาแผลเรื้องรังที่เท้า
งดสูบบุหรี่
การรักษาโดยการผ่าตัด
Debride
Lumbar syspathectomy
การแปลว่าค่า ABI
ABI อยู่ในช่วง 0.4 - 0.8 Claudication
ABI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.3 Rest
หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
สาเหตุ
แรงดันของความดันโลหิต
การอักเสบจากโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
โรคติดเชื้อบางชนิด
สารเตมีในร่างกาย
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบ
การสูบบุหรี่
ไขมันในเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
โรคอ้วนลุงพุง
ขาดการออกกำลังกาย
รับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง
เพศ อายุ
ประวัติการเจ็บป่วยของครอบครัว
อาการ
ปวดรุนแรงบริเวณที่หลอดเลือดไปเลี้ยง
บริเวณแขน ขา น่อง
การรักษา/การพยาบาล
การดูแลรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาด้วยยา
ยาต้านเกล็ดเลือด
ยาละลายลิ่มเลือด
การผ่าตัด
การทำ Balloon angioplasty
การผ่าตัดทำ Bypass
การพยาบาลหลังผ่าตัด
สังเกตอาการมีเลือดออก ปวด ติดเชื้อ ขาดเลือด หายใจและวิตกกังวล
เฝ้าระวังภาวะเลือดออกง่ายจากการใช้ยา
จัดท่านอนเหยียดตรง ห้ามงอ ห้ามเอาหมอนรองใต้เข่า
คำแนะนำป้องกันการกฃับมาเป็นซ้ำ
สังเกตอาการผิดปกติ 6 P
หลอดเลือดดำตีบ
สาเหตุ
เลือดในหลอดเลือดมีการไหลเวียนลดลง
การที่เลือดมีการแข็งตัวง่าย
หลอดเลือดดำได้รับอันตราย เช่น อุบัติเหตุกระดูกหัก
ปัจจัยเสี่ยง
อัมพาต
การเข้าเฝือก
คนแก่ นอนไม่เคลื่อนไหวมากกว่า 3 วัน
หลังผ่าตัดทำให้ต้องนอนนาน
การที่ต้องนั่งรถ รถไฟ เครื่องบิน หรือนั่งไขว่ห้าง
การใช้ยาคุมกำเนิด ฉีดยาเสพติด
การตั้งครรภ์ หลังคลอด
โรคมะเร็ง โรคทางพันธุกรรม
อาการ
บางรายจะเห็นเส้นเลือดโป่งพอง
อาจปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริว
อาการบวม
เวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น
การรักษา/การพยาบาล
การป้องกันคือลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือด
วิตามินอีช่วยลดการเกิดโรค
หากวินิจว่าเป็น DVT จะ.ให้ยา warfarin
เส้นเลือดขอด
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
การยินนานๆ
ความร้อน
การตั้งครรภ์
การถูกผูกรัด เช่น การใส่ถุงน่องรัด
อาการ
ถ้าเป็นรุนแรง จนมีเลือดอุดตันจะมีบวม ขาสีคล้ำ
อาจมีแผลที่เท้าจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
มีอาการเมื่อยล้าขามากผิดปกติ
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บและติดเชื้อง่าย
ปวดตื้อๆ บริเวณขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
การรักษา/การพยาบาล
การผ่าตัดนำหลอดเลือดที่ขอดออก
หลังผ่าตัดควรตรวจสอบเกี่ยวกับการตกเลือด
แนะนำเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
รักษาแบบประคับประคอง
เข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015