Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 หลักการบริหารและพัฒนาองค์กร - Coggle Diagram
บทที่ 3 หลักการบริหารและพัฒนาองค์กร
การบริหารงานบุคคล
เป็นกระบวนการให้ได้มาซึ่งกำลังคนที่เหมาะสมกับงานที่สุดและใช้ใช้กำลังคนนั้นทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการบริหารงานบุคคล
เพื่อใช้ประโยช์อย่างเต็ฒกำลัง
เพื่อรักษาไว้ บุคคลในองค์กรทำงานนานๆ
เพื่อสรรหา เลืกสรรให้บุคคลเหมาะสมกับงาน
เพื่อสร้างสัมพันธภาพอันดี
เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากร
หลักการบริหารงานบุคคล
ระบบคุณธรรม
หลักความสามารถ
หลักความมั่นคง
หลักความเสมอภาค
หลักการเป็นกลางทางการเมือง
ระบบอุปถัมภ์
ตรงข้ามกับคุณธรรม ยึดหลักพวกพ้อง ญาติ
กระบวนการบริหารงานบุคคล
การวางแผนกำลังคน
เพื่อให้บุคลากรได้รับประโยชน์สูงสุด
เพื่อเตรียมการล่วงหน้า
เพื่อให้องค์กรสำเร็จตามเป้าหมาย
เพื่อให้องค์กรมีคุณสมบัติเหมาะสม
กระบวนการมีดังนี้
ศึกษานโยบาย แผนขององค์กร
ตรวจสภาพกำลังคน
พยากรณ์ความต้องการกำลังคน
การสรรหาบุคคล
จากภายนอกหน่วยงาน (การเปิดรับสมัคร)
จากหน่วยงานเดียวกัน (การเลื่อนตำแหน่ง)
ขั้นตอนการสรรหาบุคคล
การประกาศรับสมัคร
๒. การสัมภาษณ์เบื้องต้น
๓. การยื่นใบสมัคร
๔. การทดสอบการปฏิบัติงาน
๕. การสอบสัมภาษณ์
๖. การตรวจสอบภูมิหลัง
๗. การคัดเลือกขั้นต้นของฝ่ายการเจ้าหน้าที่
๘. การตัดสินใจของหัวหน้างาน
๙. การตรวจร่างกาย
๑๐. การบรรจุแต่งตั้
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
๑. การสรรหาและการคัดเลือก
๒. การพัฒนาบุคลากร
๓. การบ ารุงรักษาบุคลากร
๔. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาบุคลากร
๑. การฝึกอบรมทางด้านความรู้ (Knowledge Skill)
๒. การฝึกอบรมทางด้านเทคนิค (Technical Skill)
๓. การฝึกอบรมทางด้านมนุษยสัมพันธ์(Human Skill
๔. การฝึกอบรมทางด้านความคิด (Conceptual Skill)
การธำรงรักษาบุคลากรการพยาบาล
วิธีการบำรุงรักษาบุคลากรมีหลากหลายวิธีซึ่งหนึ่งที่มี
ความสำคัญคือ การจูงใจ (motivation)
การจูงใจ (motivation) คือแรงกระตุ้นหรือแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่ปรารถนาหรือตามเป้าหมาย
ทฤษฎีแรงจูงใจเกี่ยวกับการเสริมแรงจูงใจ โดย Skinner
๑. การเสริมแรงจูงใจในทางบวก (positive reinforcement) หมายถึง การให้สิ่งจูงใจที่บุคลากรต้องการหรือชื่นชอบ
๒. การเสริมแรงจูงใจในทางลบ (negative reinforcement) หมายถึง การก าหนดเงื่อนไขที่ บุคลากรทำงานไม่ต้องการหรือไม่ชอบ
๓. การระงับพฤติกรรม (extinction) จุดประสงค์ที่ส าคัญคือ เพื่อลดการกระทำพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
๔. การลงโทษ (Punishment) จุดประสงค์การลงโทษคือ เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งการลงโทษมีหลายวิธี
ประเภทของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน
เกิดจากความทะเยอทะยาน ในความต้องการก้าวหน้าในอาชีพ
ความสนใจ ที่ต้องการให้งานสำเร็จภายในเวลารวดเร็ว
มีความคาดหวัง คำชมเชย หรือ บำเหน็จรางวัล
แรงจูงใจภายนอก
เงินเดือน
ความมั่นคงต่อการท างานและโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ
สถานที่ทำงานมีสิ่งอำนวยความสะดวก มั่งคง ปลอดภัยผู้ร่วมงาน
มีอิสระในการทำงาน การแสดงความคิดเห็นคำติชม รางวัล การทำโทษ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ( Performance Appraisal)
๑. การประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
๒. การประเมินคุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน
ขั้นตอน
๑. กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
๒. กำหนดแบบและลักษณะของงานที่จะประเมิน เขียนแบบประเมินและแบบบันทึก
๓. กำหนดผู้ประเมินและการอบรมผู้ท าการประเมิน เพื่อท าความเข้าใจให้ตรงกัน
๔. กำหนดวิธีการการประเมินผลงาน เ
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
๑. วิธีการให้คะแนนตามมาตราส่วน (Graphic Rating Scales) คือการก ำหนดรายการคุณลักษณที่เกี่ยวข้องกับตำาแหน่งงานที่จะประเมิน
๒. การประเมินตามค่าคะแนน (Point Rating Scales) ช่วงคะแนนแบ่งเป็น ๕ ช่วง โดยเริ่มตั้งแต่ดีที่สุด-แย่ที่สุด
๓. การประเมินผลที่เน้นผลการปฏิบัติงาน แบ่งได้ ๔ ประเภทคือ
Self-Appraisal
Management by objective
Psychological Appraisal/Competency Appraisal
Assessment Centers
การบริหารพัสดุ
พัสดุหมายความว่าวัสดุครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
วัสดุหมายถึงสิ่งของที่มีลักษณะไม่คงทนถาวรใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไปหรือสลายตัวไปในระยะสั้น
ครุภัณฑ์หมายถึงสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรมีอายุการใช้งานยาวนานไม่เป็นของใช้สิ้นเปลือง
วัตถุประสงค์การบริหารพัสดุ
เพื่อควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
เพื่อจัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้อยู่ตลอดเวลา
เพื่อประหยัดงบประมาณหรือเงินบ ารุงในการจัดซื้อพัสดุ
ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกันทุจริต
ประเภทของพัสดุ
๑. พัสดุประเภทส านักงาน
๒. พัสดุทางการแพทย์
๓. พัสดุวิทยาศาสตร์
๔. พัสดุยานพาหนะ
๕. พัสดุงานบ้าน
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
๑. วางแผน / กำหนดโครงการ
๒. กำหนดความต้องการ
๓. จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง
๔. การแจกจ่าย
๕. การบำรุงรักษา (๑) แบบป้องกัน (๒) แบบแก้ไข
๖. การจำหน่าย
หลักการบำรุงรักษาพัสดุ
จัดทำสมุดทะเบียน
การควบคุมดูแล การเบิกจ่าย
จัดทำคู่มือบำรุงรักษา
รายงานการส่งซ่อมอุปกรณ์
การบริหารงบประมาณ (Budget)
หมายถึง การวางแผนความต้องการด้านการเงินไว้ล่วงหน้าว่าจะทำกิจกรรมใด เมื่อใด และใช้โดยใคร
มีระยะเวลาเงื่อนไขกำหนด
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน
๑. การวางแผนงบประมาณเริ่มจากการกำหนดแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน
๒. การกำหนดผลผลิตและการคำนวณต้นทุน โดยหน่วยงานต้องระบุกิจกรรมและผลผลิตที่เกิดจาก
กิจกรรม โดยนำข้อมูลต้นทุนช่วยตัดสินใจเรื่องคุ้มค่ากับต้นทุน
๓. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
๔. การบริหารทางการเงินและ การควบคุมงบประมาณ
๕. การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน
๖. การบริหารสินทรัพย์
๗. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
การจัดระบบงาน
กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน
กำหนดขอบเขตความรับผิดชอบ
กำหนดอัตรากำลังและประเภทของเจ้าหน้าที่แต่ละระดับ
กำหนดการติดต่อสื่อสาร
จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน
การวางแผนการปฏิบัติงาน
นโยบายด้านบุคลากร
จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้
การบันทึกการรายงาน
การเสริมความรู้ด้านวิชาการ
มีการติดต่อประสานงานกับทีมสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง
มีการประเมินผล
บทบาทของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ
๑) ผู้บริหารจะต้องตระหนัก และเห็นความส าคัญของงบประมาณ
๒) ผู้บริหารจะต้องจัดองค์กรและวางแผนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับงบประมาณที่เป็นอยู่และให้
มีการประสานงานกันในระหว่างหน่วยงานในองค์กร
๓) ผู้บริหารจะต้องจัดบุคลากร ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานงบประมาณ ที่ต่อเนื่องและมีข้อมูลในด้านต่างๆไว้พร้อม
๔) ผู้บริหารจะต้องจัดเครื่องมืออุปกรณ์ที่จ าเป็นในการบริหารงานงบประมาณไว้ครบถ้วน เพื่อให้ การจัดทำงบประมาณเป็นไปด้วยความรวดเร็ว
ความสำคัญและประโยชน์ของงบประมาณ
๑) ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน
๒) ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน่วยงาน
๓) เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้มีประสิทธิภาพ
๔) เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม
๕) เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ
๑) ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณต้องรู้จักเข้าใจบทบาทและมีเหตุผล
๒) ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ ต้องจัดระบบบริหารงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ
๑) จัดระบบงานและองค์กรให้มีสายการบังคับบัญชาในองค์กรที่แน่นอนพร้อมทั้งมอบอำนาจและความรับผิดชอบให้ไว้เพื่อให้งานงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๒) จัดให้มีการประสานงานกับในหน่วยงานขององค์กร ในการบริหารงบประมาณโดยเฉพาะงานงบประมาณและงานบัญชีการเงิน
๓) จัดให้มีองค์กรกลางเป็นศูนย์รวมข้อมูลงบประมาณขององค์กร เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนงาน การบริหารงบประมาณ งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกันในด้านข้อมูลที่ใช้
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)
หมายถึง การจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การ
เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม องค์การได้รับผลดี และลดผลกระทบใ
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
๑. การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive) เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงจากผู้อื่นซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นเพื่อเตรียมต่อการเปลี่ยนแปลง
๒. การเปลี่ยน แปลงเชิงรับ (Reactive) เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเองไม่ยอมที่จะเปลี่ยนแปลง หรือมีความคิดติดยึดในแนวทางเดิมๆมานาน ซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบันและอนาคต
ความสำคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลง
๒. การบริหารการเปลี่ยนแ ปลงที่ดี ช่วยให้องค์การเห็นโอกาส และภัยคุกคามต่างๆ ที่เกิดขึ้น
๓. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะช่วยให้การด าเนินงานขององค์การเป็นไปโดยราบรื่น
๑. องค์การที่มีการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะปรับตัวได้ทันกับปัญหา
๔. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การไม่สับสน วุ่นวาย ระส่่ำระสาย เมื่อต้องเผชิญกับความจำเป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนการดำเนินงาน
๕. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การได้ปรับปรุงตัวเองอย่ างต่อเนื่องในด้านต่างๆ
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงในองค์การ
ระเบียบสังคม (Social Order) ซึ่งหมายถึงการจัดระเบียบ
อุดมการณ์ (Ideology) ซึ่งหมายถึงความเชื่อ ค่านิยมสูงสุด ที่เป็นตัวก ากับทิศทางแบบแผนของ
พฤติกรรมในองค์การ
เทคโนโลยี (Technology) ซึ่งหมายถึงอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ รวมถึงระเบียบกรรมวิธี
ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร เครื่องมือเหล่านั้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงต่อต้าน
ความกลัวว่าจะต้องสูญเสียประโยชน์ อำนาจ ความมั่นคง
ความรู้สึกหวั่นไหวต่อความคลุมเครือ ความไม่แน่นอน
การขาดความรู้ความเข้าใจที่ดีพอเกี่ยวกับแนวทาง วิธีการ และจุดหมายปลายทางของการเปลี่ยนแปลง
ความไม่เชื่อถือ ไว้วางใจ ไม่เชื่อใจกัน ซึ่งท าให้ขาดการสื่อสารสร้างความเข้าใจ
อื่นๆ เช่น ข้อจ ากัดด้านทรัพยากร ความไม่ยืดหยุ่นของกฎระเบียบ ความ
ยากล าบากในการสื่อสารฯลฯ
แรงเสริม
ความไม่พึงพอใจในสภาพปัจจุบันที่เป็นอยู่
ความสามารถในการรับรู้ข่าวสารร่วมกันในหมู่คนในองค์การ
ภาพลักษณ์ และการปฏิบัติตนของผู้น าที่แสดงถึงความมุ่งมั่น
การเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลในต าแหน่งต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มต าแหน่งผู้บริหาร
ความจ าเป็นขององค์การที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการด าเนินการ และความรวดเร็วของ
พัฒนาการทางเทคโนโลยีประเภทที่องค์การใช้เป็นหลักในการด าเนินการ
สัมพันธภาพระหว่างบุคลากรในฝ่ายและระดับต่างๆ ในองค์การ รวมถึงความไว้วางใจและการสื่อสารที่ทั่วถึงกัน
กลไกในการประเมิน ทบทวนสภาพภายในองค์การ เช่น ระบบการติดตามประเมินผล
การได้ติดต่อสัมพันธ์กับภายนอกองค์การ ซึ่งท าให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ
การขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
๑. การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
๒. การน าแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
๓. การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)