Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการ ที่ได้รับการบาดเจ็บ - Coggle Diagram
กลุ่มอาการ
ที่ได้รับการบาดเจ็บ
1.Abdominal injury
การรักษา
1.การรักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัด
3.ทำ CT scan เป็นระยะๆ
ให้ผู้ป่วยค่อยๆเพิ่มกิจกรรมทีละน้อยจนสามารถมีกิจกรรมได้เต็มที่
2.ตรวจ Hematocrit ทุก 6 ชม.ใน 24 ชม.แรก และ 8 ชม. ใน 24 ชม.ต่อมา
1.ให้นอนพัก งดรับประทานอาหารและน้ำ
2.การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
การเปิดช่องท้องเข้าไป (Exploratory Laparotomy)
แบ่งเป็น 2 ชนิด
2.Penetrating injury เกิดจากการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องท้อง เช่น ถูกยิง ถูกแทง ถกสะเก็ดระเบิด เป็นต้น
Blunt abdominal injury เกิดจากแรงกระแทกถูกช่องท้อง การประเมินบางครั้งค่อนข้างยาก เพราะไม่เห็นบาดแผลจากข้างนอก โดยเฉพาะผู้ป่วยที่หมดสติบาดเจ็บที่ศีรษะ และเมาสุรา ตกจากที่สูง ถูกกระทืบ เป็นต้น
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง รวมทั้งผนังช่องท้อง จากสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ หรือถูกทำร้ายร่างกาย ถูกกระทบกระแทกอย่างรุนแรงหรือจากของมีคม มีผลทำให้ได้รับบาดเจ็บ
การประเมินผู้ป่วย
2.การตรวจร่างกาย
2.1การประเมินสภาพเบื้องต้น
2.2การประเมินอวัยวะหรือระบบต่างๆที่ได้รับบาดเจ็บ
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับการบาดเจ็บจากตัวผู้ป่วย ญาติ หรือผู้นำส่ง ได้แก่ สาเหตุระยะเวลาตั้งแต่บาดเจ็บจนมาถึงโรงพยาบาล ชนิดของอาวุธ จำนวนรู/วิถีกระสุน จำนวนรูที่ถูกแทง ปริมาณเลือดที่ออก อาการปวดตำแหน่งที่ปวด อาการปวดร้าวไปยังบริเวณอื่นหรือไม่
2.Spinal injury
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อโดยรอบ หรือเส้นประสาทที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง มักสัมพันธ์กับภาวะ head injury
สาเหตุ
2.การใช้ความรุนแรง เช่น ถูกรุมทำร้ายร้างกาย
3.การตกจากที่สูง
1.อุบัติเหตุการจราจร
4.บาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
อาการและอาการแสดง
1.อาการช็อกจากไขสันหลัง
2.อาการที่เกิดจากไขสันหลังได้รับบาดเจ็บบางส่วน
3.อัมพาตซีกใดซีกหนึ่ง
4.รับรู้ความรู้สึกได้บางส่วน
5.กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ มีปัญหาการขับถ่าย
การรักษา
1.ประเมิน Vital signs
2.X-ray
3.U/S
4.การส่งเลือดตรวจหารการติดเชื้อ
5.ให้สารน้ำอย่างเพีงพอ และพิจารณาให้ยา
6.การรักษาด้วยการผ่าตัด
3.Head injury
แบ่งเป็น 2 ชนิด
1.Primary brain injury ซึ่งเป็นมาจากการได้รับบาดเจ็บจากแรงที่มากระทำโดยตรง
2.Secondary brain injury เกิดตามหลัง Primary brain injury เป็นผลมาจากภาวะขาดออกซิเจน
การได้รับบาดเจ็บจากแรงที่กระทำต่อกะโหลกศีรษะ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายต่อกะโหลกศีรษะ สมอง ทั้งกะโหลกศีรษะและสมอง
อาการและอาการแสดง
1.การบาดเจ็บภายนอก ที่อาจพบอาการได้ตั้งแต่ศีรษะ
2.การบาดเจ็บภายใน สมองฟกช้ำหรือเส้นเลือดในสมองฉีกขาด ทำให้มีการตกเลือดในสมอง
3.อาจมีอาการหมดสติไปเพียงชั่วครู่ เมื่อฟื้นแล้วจะรู้สึกมึนงง
4.อาการอื่นๆ
Physical Examination
2.การตรวจระบบที่เกี่ยวข้อง
1.การตรวจสัญญาณชีพ และดูลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย
3.การประเมินระดับความรู้สึกตัว
4.ขนาดรูม่านตา
5.กำลังของแขน และขา
Plan for diagnosis
1.Vital signs
2.การตรวจด้วยคลื่นสะท้อนในสนามแม่เหล็ก MRI
3.ส่งตรวจด้วยเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ CT scan
4.การตรวจทางรังสีวิทยา X-ray
แนวทางการรักษา
1.การดูแลระบบทางเดินหายใจ
2.การดูแลระบบไหลเวียนโลหิต
3.ภาวะบาดเจ็บร่วมอื่นๆที่อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต
4.การตรวจประเมินทางประสาทวิทยา
5.ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกราย ต้องทำ neck immobilization
4.Chest injury
Physical Examination
1.การตรวจสัญญาณชีพ และดูลักษณะผู้ป่วย
2.การตรวจระบบที่เกี่ยวข้อง
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.Blunt injury เกิดจากการได้รับแรงกระแทกที่หน้าอก
กระดูกซี่โครงหัก
อกรวน
2.Penetrating injury เกิดจากการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องอก
มีเลือดคั่งในปอด
มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
Plan for diagnosis
1.Vital signs
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น arterial blood gas , Hb และ Hct.
3.การตรวจทางรังสีวิทยา เช่น X-ray , angiography , CT scan , MRI scan
แนวทางการรักษา
1.กระดูกซี่โครงหัก การรักษา คือการให้ยาบรรเทาปวดให้เพียงพอ
2.ภาวะอกรวน การรักษา คือการยืดทรวงอกด้านที่มีพยาธิสภาพให้อยู่นิ่ง
3.ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
closed drainage
Open pneumothorax
Tension pneumothorax
4.ภาวะเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด ดูแลระบบไหลเวียนโดยให้ได้รับสารน้ำ เลือด
5.ภาวะปอดช้ำ ดูแลการรักษาทางเดินหายใจให้โล่งและดูแลการหายใจให้เพียงพอ