Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - Coggle Diagram
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ความหมาย
การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก Developmental หมายถึง การกระทำหรือจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความสามารถและทักษะในการทำหน้าที่ตาามพัฒนาการของเด็กที่มีพัฒนาการช้า หรือเด็กที่อยู่ รพ. น่าน
การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก Developmental Promotion หมายถึง การกระทำหรือการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะและความสามารถในการทำหน้าที่ตามพัฒนาการเด็กที่มีพัฒนาการปกติ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระตุ้นพัฒนาเด็ก
ตัวเด็ก เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันสิ่งที่ต้องคำนึงถึง
-ความพร้อม
-สุขภาพของเด็กความเจ็บป่วย
-ความสัมพันธ์ของบุคคลอื่น
-ผู้ดูแลเด็ก
-จำนวนครั้งที่ได้รับการกระตุ้น
-ระยะเวลาในการการตุ้น
-สภาพแวดล้อม
การกระตุ้นประสาทสัมผัส
การกระตุ้นประสาทสัมผัสทางกายของทารก
-เพื่อกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
-เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านต่างๆ
-เป็นการสร้างสัมพันธภาพ เชื่อมโยงสายใยความรัก
-กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
การเตรียมการกระตุ้น
-สถานที่
-ที่นอน
-ทาน้ำมันทาโลชั่น
ใช้เวลาวันละ 15 นาที หลังอาบน้ำจะดี
แต่ละครั้งทำซ้ำๆ ประมาณ 5 ครั้ง
ข้อระวัง
1ไม่ควรทำหลังเด็กอิ่มใหม่ๆ อย่างน้อยหลังอาหาร 1 ซม. 2ถ้าเด็กไม่ร่วมมือ ควรหยุดก่อนค่อยทำใหม่เมื่อเด็กมีอารมณ์ดี
3ขณะทำควรพูดคุย สบตา หรือหอมแก้มสลับการทำเท่าที่ทำได้
การนวดสัมผัสทารก
นวดบริเวณศีรษะและใบหน้า เป็นหาที่นวดผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าแบ่งออกเป็น 2 ท่า ท่าที่คาดผมและท่ายิ้มแฉ่ง
-นวดอก (ทำเปิดหนังสือ) ช่วยเสริมจังหวะการทำงานของปอด
-นวดแขน (ทำรถเมย์จอดป้าย) ช่วยผ่อนคลายความตรึงเครียด
-นวดแขน (ทำวนไปรอบๆ)
-นวดขา (ท่าคลึงไปมา)
-นวดหลังง (ท่าเดินหน้าถอยหลัง)
-นวดท้อง (ทำ I Love you)เป็นท่านวดกระตุ้นระบบทางเดินอาหาร
การกระตุ้นประสาทการมองเห็นของทารก
วิธีการกระตุ้น
ติดภาพขาวดำที่มีลักษณะคล้ายแถบหมากรุกไว้ใกล้ที่นอนเด็ก
หาของเล่นที่เป็นรูปทรงเรขาคณิตมีแถบขาวดำให้เพื่อนจับ
แขวนโมบายที่เป็นสีขาวดำ
เด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไปควรหาของเล่นที่มีสีสันตัดกันมาให้เล่น
การกระตุ้นประสาทการได้ยิน
มันพูดคุยกับเด็ก
เปิดเพลงที่มีดนตรีเบาๆให้ฟังบ้างเป็นบางครั้งเมื่อเด็กจะนอน
เด็กป่วยมิได้หมายความว่าสูญเสียการได้ยิน
การกระตุ้นประสาทการได้กลิ่น
หาดอกไม้ที่มีสีสันสดใสและมีกลิ่นต่างๆมาให้เด็กฝึกแยกกลิ่นต่างๆ
หากินที่แตกต่างกันมาให้เด็กแยกแยกกิน
ควรจัดสภาพแวดล้อมของเด็กให้ปราศจากดินโดยเฉพาะเด็กป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
การกระตุ้นประสาทการรับรส
ต่อมรับรสบนลิ้นเด็กรับได้ 4 รสคือหวานเปรี้ยวขมเค็ม
หยดน้ำเกลือน้ำตาลลงบนลิ้นเด็ก
ใช้นิ้วเปียกแต่เกลือวางบนลิ้นเด็ก
หยดน้ำมะนาว 1-2 หยดบนลิ้นเด็ก
หยดน้ำต้มมะระ 1-2 หยดบนลิ้นเด็ก
การกระตุ้นการเคลื่อนไหวของแขนและข้อต่อ
สำหรับเด็กที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้จะเป็นต้องกระตุ้น
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันข้อติดยึด
เพื่อคงไว้ซึ่งการเคลื่อนไหวตามปกติ
วิธีกระตุ้น
Abduction
Adduction
Flexion
Extiontion
Rotation
Internal rotation
Criconduction
โปรแกรมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ชื่อสกุล
ที่อยู่โรงพยาบาลสถานบริการ
การวินิจฉัยโรค
วันที่รับเข้าอยู่โรงพยาบาล
การสังเกตหรือประเมินพัฒนาการ
สรุปปัญหา
กิจกรรมและการกระตุ้น
ระยะเวลา สถานที่ จำนวนครั้ง ระยะเวลาครั้งละ เวลาเช้า-บ่าย
การประเมินผล
เทคนิกการปรับพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรม (Behavior modification) เป็นที่หนึ่งที่อยู่ในแนวคิดจากหลักการเรียนรู้ (Learning theory)นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เกิดในทิศทางที่พึงประสงค์
เพิ่มพฤติกรรม (increasing behavior) เป็นการช่วยให้พฤติกรรมที่เด็กมีอยู่แล้วแต่ยังมีน้อยมากให้ความถี่ของพฤติกรรมสูงขึ้นเช่นเพิ่มให้เด็กใช้เวลาอ่านหนังสือเรียนเป็นวันละ 1 ชั่วโมงทุกวันเทคนิคที่นำมาใช้เช่นการใช้แรงเสริมทางบวกการให้แรงเสริมทางลบ
สร้างพฤติกรรม (Teaching behavior)เป็นการสอนให้เด็กทำพฤติกรรมที่ไม่เคยทำมาก่อนหรือทำได้แต่ไม่สมบูรณ์ให้ทำพฤติกรรมนั้นได้อย่างสมบูรณ์เช่นสอนให้ใส่เสื้อผ้าเองเทคนิคที่นำมาใช้เช่นการสอนและฝึกให้ทำ shaping การชี้แนะทันที Prompting แต่การเป็นแม่แบบอย่างให้เด็กเลียนแบบ Modeling
ลดพฤติกรรม (Reducing or Elimination behavior)ในการลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาเช่นลดพฤติกรรมก้าวร้าวรังแกผู้อื่น เทคนิคที่ใช้ เช่น การหยุดยั้ง (Extinction)โดยการเงินให้แรงเสริม การแยกอยู่ตามลำพัง(Time out)การลงโทษการลดความรู้สึกกลัว (drsensitization)
หลักการเสริมแรง
กำหนดเงื่อนไขว่าจะให้แรงเสริมชนิดใดกับพฤติกรรมอะไร
แรงสม่ำเสมอทันทีเมื่อต้องการสร้างเสริมพฤติกรรมเช่นเมื่อเด็กทำถูกต้องให้ชมทุกครั้ง
ให้ปริมาณการเสริมแรงที่พอเหมาะเพื่อไม่ให้ตัวเสริมแรงหมดสภาพ
เลือกตัวเสริมแรงที่เหมาะสมกับความต้องการของเด็กและมีความหลากหลาย
จากสถานการณ์ที่อำนวยที่ทำให้เด็กได้รับการเสริมแรงสูงเช่นการชี้แนะ
สิ่งสำคัญคือบิดามารดาหรือผู้ดูแลแม่ควรคาดหวังเด็กมากเกินไปบรรยากาศไม่ควรเคร่งเครียด
หลักการลงโทษ
ก่อนจะใช้วิธีลงโทษควรประเมินว่าอาการไม่พึงประสงค์มีผลต่อการกระทำชนิดใดและอยู่ในสถานการณ์ใด
ถ้าประเมินแล้วว่าอาการไม่พึงประสงค์ควรได้รับการลงโทษควรเลือกใช้เทคนิคที่มีความรุนแรงน้อยที่สุด
ควรให้การลงโทษควบคู่กับการเสริมแรงพฤติกรรมที่เหมาะสมจะช่วยให้การลงโทษมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การลงโทษต้องให้ทันทีและทุกครั้งที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
ต้องบอกให้ทราบถึงยังไขพฤติกรรมและวิธีการลงโทษที่ชัดเจน
คนมีการบันทึกพฤติกรรมก่อนการลงโทษและหลังการลงโทษเพื่อเป็นแนวทางในการทราบว่าการลงโทษนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม่