Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.3.1 การสร้างเสริมสุขภาพ ของเด็กแต่ละวัย (การเจริญเติบโตและพัฒนาการ…
2.3.1 การสร้างเสริมสุขภาพ ของเด็กแต่ละวัย
ทารกแรกเกิดและทารก
ความหมายของทารกแรกเกิดและทารก
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
อุณหภูมิ 37 + 2 °c สูญเสียความร้อนได้ 4 ทางใหญ่ๆ คือ การนา (Conduction) การพา (Convection) การแผ่รังสี (Radiation) การระเหย (Evaporation)
ระบบทางเดินอาหาร
ทารกแรกเกิดเมื่อคลอดครบกาหนดจะดูดได้ดี
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทารกแรกเกิดอัตราการเต้นของหัวใจ 120 – 160 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 80/50 mmHg
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะ วันละ 2 – 6 หรือ 0.05 – 1 ซีซี/กก./นาที
ระบบทางเดินหายใจ
ทารกแรกเกิดหายใจแบบ periodic breathing (หายใจไม่สม่าเสมอ หยุดหายใจเป็นช่วงๆ ครั้งละไม่เกิน 15 วินาที)
ทารกแรกเกิด
แรกเกิด – 28 วัน (เมื่อคลอด full term) อัตราการเจ็บป่วย อัตราตายสูงสุดกว่าเด็กวัยอื่น
ธรรมชาติของทารก
ปรับสภาพการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกมาก
มีความต้านทานต่า ติดเชื้อง่าย
กินอาหารได้ดี เจริญเติบโตรวดเร็ว เปลี่ยนแปลงพัฒนาการเร็ว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต
การได้รับอาหาร
ฮอร์โมน
Insulin -- มีผลต่อการออกฤทธิ์ Growth H.
Cortisol – ช่วยให้ Hormone อื่นๆออกฤทธิ์
Thyroid H. – มีผลต่อการออกฤทธิ์ Growth H.
Sex H. -- กระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูก
Growth H. – metabolism ขาดจะแคระ
พันธุกรรม
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
พัฒนาการทางอารมณ์
3) ความเบิกบาน
4) ความรัก
2) ความกลัว
5) ความอยากรู้อยากเห็น
1) ความโกรธ
พัฒนาการทางสังคม
ทารกวัยตอนต้น 2 - 3 เดือน แสดงออกโดยการสบตา การส่งเสียงอือออ
ทารกตอนปลาย จะปรากฏพัฒนาการพฤติกรรมทางสังคมอีก 2 ประเภท คือ พฤติกรรมผูกพันและภาษา
พัฒนาการทางร่างกาย
น้าหนักของทารก
2 เท่าของแรกเกิด เมื่ออายุ 5 เดือน 3 เท่าของแรกเกิด เมื่ออายุ 12 เดือน
สัดส่วนของร่างกาย
แรกเกิด ความยาวของศีรษะต่อลาตัว 1 : 4, โตเต็มที่ ความยาวของศีรษะต่อลาตัว 1 : 8
ส่วนสูงของทารก
ร้อยละ 50 เมื่ออายุ 2 ปี, ร้อยละ 60 เมื่ออายุ 6 ขวบ
แรกเกิด ร่างกายยาว 50 ซม., 12 เดือน ร่างกายยาว 75 ซม.
พัฒนาการของโครงกระดูกและฟัน
ฟันน้านมจะขึ้นเป็นซี่แรกเมื่ออายุ 6 เดือน
พัฒนาการของระบบประสาท
ทารกใช้ช่วงเวลาปีแรกของชีวิตในการพัฒนาเซลล์สมอง การเพิ่มจานวนขนาดและการทาหน้าที่ของเซลล์
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
6 สัปดาห์ - 3 เดือน เคลื่อนไหวตาตามสิ่งของที่มีสีสดๆ ยกอกได้ในเวลาสั้น
3 – 4 เดือน ใช้มือจับสิ่งของ ใช้มือยกตัว คว่าได้ พลิกตัว คอแข็งหันไปมาได้
อายุประมาณ 6 สัปดาห์ จะยกศีรษะได้
4 – 5 เดือน ตั้งคอได้ตรง ถือของเล่นได้ ตีน้าเล่นได้ หันดูสิ่งของ เล่นมือตัวเอง ยกตัวขึ้น พยายามเคลื่อนที่
4 – 5 เดือน ตั้งคอได้ตรง ถือของเล่นได้ ตีน้าเล่นได้ หันดูสิ่งของ เล่นมือตัวเอง ยกตัวขึ้น
6 – 8 เดือน กลิ้งตัวได้ หันหาเสียง นั่งได้ดี ใช้ช้อนเคาะโต๊ะ คว้าหยิบจับของใกล้ๆ ฟัน 2 ซี่แรกขึ้น
8 – 12 เดือน นั่งได้เองแข็งแรง คลานคล่อง เริ่มยืนหรือก้าวเดิน ชอบเล่นกระจก โบกมือ
พัฒนาการทางสติปัญญา
วิธีการเรียนรู้ของทารก
พัฒนาการด้านการรู้คิดของทารก
1 - 4 เดือน การเคลื่อนไหวโดยไม่มีจุดมุ่งหมายของทารกทาให้เกิดความพอใจ
4 - 10 เดือน ทารกเริ่มสารวจสิ่งแวดล้อมรอบตัวเอง
10 - 12 เดือน ทารกเริ่มมีจุดมุ่งหมายในการทา และนาเอาพฤติกรรมต่างๆ
แรกเกิด - 1 เดือน ทารกพัฒนาระบบพฤติกรรม เช่น การดูด เริ่มจากดูดนม
การพัฒนาการรับรู้
วัยเดิน หรือ วัยเตาะแตะ
ธรรมชาติของเด็กวัยเดิน
อยากเป็นตัวของตัวเอง วัยต่อต้าน (Negativistic period)
หัดเดิน หัดพูด เริ่มมีอารมณ์ (สนุก อยากรู้อยากเห็น กลัว โกรธ อิจฉา)
อัตราการเจริญเติบโตลดลงกว่าวัยทารก
เริ่มออกนอกบ้าน เล่นกับเพื่อน เรียนรู้สังคม (นักสารวจ)
พัฒนาการด้านต่างๆ
พัฒนาการทางอารมณ์
มีอารมณ์หงุดหงิดง่ายกว่าวัยทารก โกรธง่าย ดื้อรั้น เอาแต่ใจตัวเอง เจ้าอารมณ์
ความโกรธ (Anger)
ความอิจฉา (Jealousy)
ความกลัว (Fear)
ความอยากรู้อยากเห็น
ความรัก
ความสนุกสนาน ร่าเริง ดีใจ
พัฒนาการทางสังคม
ไม่รู้จักการรอมชอม
ยังไม่รู้จักการให้และการรับ -->ทะเลาะเบาะแว้งกันเมื่อรวมกลุ่ม
ยังไม่มีประสบการณ์การเข้าสังคม
พัฒนาการทางร่างกาย
การรับประทานอาหาร ไม่หิวบ่อยและไม่เจริญอาหาร
การนอนหลับ ไม่ยอมนอน -- จะแสดงอาการงอแง
การเจริญเติบโตจะเป็นไปเพื่อให้สามารถทางานได้เต็มที่ตามหน้าที่
การขับถ่าย เริ่มสามารถควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะได้
พัฒนาการทางความคิด
บอกความเหมือน ความต่างของสิ่งต่างๆได้
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก
ก้าวหน้าเป็นลาดับขั้นอย่างโดดเด่นจากวัยทารก
ไม่คล้อยตามผู้อื่นง่ายๆ
ชอบสัมผัสกับสิ่งเร้าใหม่ๆ
พัฒนาการทางภาษา
อยู่ในขั้นเห็นความหมายของเสียงที่เด็กเลียนแบบ (True speech)
ยังไม่เข้าใจถึงความหมายที่แท้จริง
ทบ.พัฒนาการเด็กวัยเดิน (1-3 ปี)
อีริคสัน – พัฒนาความเป็นตัวของตัวเองหรือละอายสงสัย (Autonomy v.s. Shame or Doubt): มีการควบคุมอวัยวะต่างๆได้มากขึ้น
เพียร์เจต์ – ระยะก่อนปฏิบัติการ (Preoperational phase) ขั้นที่ 1 (Preconceptual): มีการใช้สัญลักษณ์ต่างๆในการสื่อภาษาและเล่นมากขึ้น
ฟรอยด์ -- ขั้นทวาร (Anal stage) ความพึงพอใจอยู่ที่บริเวณทวาร เรียนรู้การควบคุมการขับถ่ายทั้งอุจจาระและปัสสาวะ
โคลเบอร์ก – ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์ (Pre-conventional) :
ยึดตัวเองเป็นหลัก ไม่คานึงถึงผู้อื่น
แนวทางการส่งเสริม พัฒนาการตามวัยในแต่ละเดือน
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมการนอน
แรกเกิด - 1 ½ เดือน การนอน 20 -22 (ชม./วัน)
1 ½ เดือน – 6 เดือน การนอน 14 - 16 (ชม./วัน)
6 เดือน – 9 เดือน การนอน 12 - 16 (ชม./วัน)
9 เดือน – 12 เดือน การนอน12 - 14 (ชม./วัน)
ปัญหาการนอน
ลดการให้นมในตอนกลางคืน
ให้ความมั่นใจ มั่นคง
เล่นกับเด็กในตอนกลางวัน
สร้างบรรยากาศให้อบอุ่นในการนอน
ส่งเสริมการขับถ่าย
ขับถ่ายไม่เป็นเวลา ควบคุมไม่ได้
ดังนั้นจาเป็นต้องดูแลทาความสะอาดภายหลังการขับถ่ายอุจจาระ+ปัสสาวะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
การส่งเสริมการให้อาหาร
การกิน การเคี้ยว
การส่งเสริมสุขวิทยาทั่วไป
อาบน้าวันละ 2 ครั้ง สระผม 1-2 วัน/ครั้ง – สภาพอากาศ
สะดือ -- สาคัญมาก ถ้ายังไม่หลุดเป็นแหล่งเพาะเชื้อ --> ติดเชื้อในกระแสเลือดได้
ช่องปากและฟัน เช็ดช่องปาก เหงือก กระพุ้งแก้ม และลิ้น เป็นประจาอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
สร้างความสุขให้เด็ก
สุขสบาย – ความสะอาด นอนหลับ ขับถ่าย
การส่งเสริมสัมพันธภาพบิดา มารดา และทารก
ต้องการสร้าง Bonding & Attachment เพื่อความมั่นคง ปลอดภัย
การส่งเสริมการเล่น
อยู่ในขอบเขตที่จากัด – มอง ฟัง ทามือเคลื่อนไหวไปมาส่งเสียง จากนั้นเริ่มเล่นวัตถุ สิ่งของ
ของเล่นจึงควรเป็นของเล่นที่กระตุ้นการได้ยิน + การเคลื่อนไหว
แรกเกิด – 1 ปี : เป็นการเล่นใช้ประสาทสัมผัส
การส่งเสริมพัฒนาการ
พัฒนาการจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ส่งเสริม - เลือกของเล่นให้เหมาะสม
การมองเห็น สายตา
การได้ยิน รับรู้เสียงต่างๆ
ประสาทสัมผัส กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ส่งเสริมความปลอดภัย
ทารกควรได้รับการดูแลเรื่องความปลอดภัยตามระยะพัฒนาการ
ปัญหาที่พบบ่อย
เชื้อราในช่องปาก (ORAL CANDIDIASIS)
สะอึก
สารอก อาเจียน
ท้องผูก
เยื่อบุนัยน์ตาอักเสบ (CONJUNCTIVITIS)
ท้องเสีย
ภาวะตัวเย็น (HYPOTHERMIA)
ฝีจากวัคซีนวัณโรค (BCG ABSCESS)
ภาวะอุณหภูมิกายสูง (HYPERTHERMIA)
ผื่นผ้าอ้อม (DIAPER RASH)
ภาวะตัวเหลือง (JAUNDICE)
ชันตุ (CRADLE CAP)
เดือนที่ 1 นอนหลับเป็นส่วนใหญ่
เดื่อนที่ 2 ยิ้มแย้ม เล่นกับมารดาหรือผู้ดูแล
เดือนที่ 3 เรียนรู้ในการโต้ตอบ
เดือนที่ 4 คว่า คืบ และไขว่คว้า
เดือนที่ 5 ส่งเสียงโต้ตอบเมื่อพอใจ
เดือนที่ 6 นั่งได้
เดือนที่ 7 คืบ คลาน
เดือนที่ 8 เกาะยืนโยกตัวตามเสียงเพลงหรือจังหวะ
เดือนที่ 9 ตั้งไข่
เดือนที่ 10 เกาะเดิน
เดือนที่ 11 เริ่มพูด
เดือนที่ 12 เดินได้
บทบาทของพยาบาล
การดูแลทางด้านร่างกาย
การป้องกันการติดเชื้อ/การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
ป้องกันภาวะเลือดออก
การควบคุมอุณหภูมิ
ดูแลให้ได้รับสารอาหาร
ทางเดินหายใจ
สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ เช่น การติดเชื้อ ผื่น
การดูแลด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม
ตอบสนองด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม
การดูแลด้านพัฒนาการ – ความสว่าง ความดัง การจัดกิจกรรม
ส่งเสริม Bonding & Attachment ระหว่างบิดา มารดา และทารกให้เร็วที่สุด
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
การเป็นนักสารวจ
แนวทางการสร้างเสริม
เปิดโอกาสให้เด็กได้ศึกษาและทดลองด้วยตนเอง
ควรใช้คาว่า “ต้อง” ให้น้อยที่สุด หรือหลีกเลี่ยงคาว่า “อย่า”
จัดสิ่งแวดล้อมให้เด็กเกิดการอยากรู้อยากเห็น
การพัฒนาความเป็นตัวเอง
แนวทางการสร้างเสริม
การสอนและฝึกหัดอย่างฉลาดและมีเหตุผล
ผู้ดูแลควรเรียนรู้ธรรมชาติของเด็กและมีการตอบสนองเด็กอย่างเหมาะสม
ให้อิสระเด็กในการทากิจกรรมที่เด็กมีศักยภาพที่จะทาได้
การพัฒนาทางภาษา
เปล่งสาเนียงไม่ชัดเจน ให้ช่วยแก้ไขโดยสอนสาเนียงที่ชัดเจน
สอนการใช้คาต่างๆในชีวิตประจาวัน
ผู้ดูแลไม่ควรเร่งรัดเด็ก
การบอกให้เด็กพูดซ้าในคาพูดของผู้ดูแลขณะที่เด็กชวนคุย ผู้ดูแลควรให้ความสนใจ
การพัฒนาการเล่น
ได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐานสาคัญ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตและกระตุ้นพัฒนาการทางร่างกาย
ส่งเสริมการมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
เรียนรู้ทักษะทางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
การนอน
การสร้างสุขนิสัยการนอน
สร้างบรรยากาศ อารมณ์การนอน ให้รู้สึกผ่อนคลาย
เวลาหลับหลีกเลี่ยง การรบกวนการนอน
เข้านอนเป็นเวลา
การตรวจสุขภาพ การรับภูมิคุ้มกันโรคและสุขภาพฟัน
ส่งเสริมสุขภาพฟัน
ฝึกนิสัยการกิน ให้เคี้ยวกัด กินอาหารแข็ง รสไม่หวาน
เลิกนมขวด ให้ฟลูออไรด์ (มีในน้า ยาสีฟัน)
สุขวิทยาช่องปาก—แปรงฟัน
ตรวจสุขภาพฟันทุก 6 เดือน
อาหาร
ให้เด็กได้รับประทานอาหาร ไม่บังคับ คะยั้นคะยอ
ให้นั่งกินร่วมกับสมาชิกในครอบครัว (ไม่เดินกิน นั่งรถกิน)
พัฒนาความชอบ-ไม่ชอบอาหาร
ให้เด็กหยิบจับอาหารกินเอง
การป้องกันอุบัติเหตุ
ผลัดตก (fall)--ตกบันได ของเล่น โต๊ะ เตียง รั้วบ้าน
สาลัก หยิบสิ่งแปลกปลอมเข้าปาก
ไฟไหม้ น้าร้อนลวก—กระติกน้าร้อน
เริ่มเดิน วิ่ง
ปัญหาที่พบบ่อย
การปฏิเสธ/ต่อต้าน (NEGATIVISM)
การปฏิเสธ หรือ การต่อต้าน หรือ การดื้อรั้นของเด็ก เป็นธรรมชาติของเด็กวัยเดิน
แนวทางในการดูแล
ต้องเข้าใจ ให้แสดงความสามารถ ให้คาชมเชย ไม่บังคับต่อต้าน
การอิจฉาน้อง (SIBLING RIVALRY)
เกิดจากความรู้สึกของเด็กวัยนี้ที่มักคิดว่าตนเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่าง
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในการอิจฉาน้อง
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาเกี่ยวกับการนอน
พฤติกรรมถดถอย
พฤติกรรมความวิตกกังวลจากการพรากจาก
พฤติกรรมก้าวร้าวดื้อดึง
พฤติกรรมแยกตัวและซึมเศร้า
แนวทางในการดูแลการอิจฉาน้อง
ให้ความรักเอาใจใส่เช่นเดิม
ไม่ลาเอียง
สร้างให้เกิดความรักน้องตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์น้อง
เน้นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างพี่น้องให้ดี
มีส่วนร่วมในการเลี้ยงน้อง
ฝึกควบคุมอารมณ์
ต้องฝึกควบคุมอารมณ์เพราะเป็นวัยเจ้าอารมณ์ (Temper tantrums)
แนวทางในการดูแล
สร้างการรอคอย
เบี่ยงเบนอารณ์
สร้างความมีเหตุผล ใจเย็นในการอธิบาย
การดูดนิ้ว (THUMB SUCKING)
แนวทางในการดูแล
จัดหาสถานที่และของเล่นที่น่าสนใจให้แก่เด็กได้เล่นอย่างมีความสุข
ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ว่างๆ
ไม่ดุว่า หรือห้ามปรามเด็ก – ควรให้กาลังใจ
การฝึกการขับถ่าย (TOILET TRAINING)
ฝึกให้เป็นเวลา สร้างบรรยากาศให้มีความสุข
ข้อควรระวัง – ไม่ขู่ บังคับ
ส่วนใหญ่แนะนาว่าเวลาที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการฝึกการขับถ่ายคือ 18 – 24 เดือน
ความวิตกกังวลจากการพรากจาก (SEPARATION ANXIETY)
เมื่อเกิดความวิตกกังวลจากการพรากจากเด็กจะรู้สึกไม่ปลอดภัย ปั่นป่วน ว้าวุ่นใจ
แนวทางการดูแลความวิตกกังวลจากการพรากจาก
อย่าทาให้การพรากจากในแต่ละครั้งเนิ่นนานเกินไป การหอมแก้มเด็ก กอด และการกล่าวคาลา
การใช้วัตถุเป็นสัญลักษณ์ของบิดามารดา ตุ๊กตาที่เด็กรัก
ทาให้การพรากเกิดขึ้นทีละน้อย