Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจทรวงอกและปอด (การดู (รูปร่าง (-scoliosis หรือหลังคด เป็นแต่กำเนิด
…
การตรวจทรวงอกและปอด
การดู
รูปร่าง
-scoliosis หรือหลังคด เป็นแต่กำเนิด
-Kyphosis กระดูกสันหลังยุบตัวทำให้หลังคดเอียงไปด้านข้าง
-Barrel shaped (อกถังเบียร์ )พบในโรค COPD
-Pigeon chest อกนูนพบในผู้ป่วยโรคกระดูกอ่อนFunnel chest อกบุ๋มพบในผู้ที่เป็นโรคกระดูกอ่อนในวัยเด็ก
-
-
ความสัมพันธ์ของโรค
โรคตับแข็ง ตรวจพบSpider nevi, Hyperpigmentation
โรคผิวหนังแข็ง (Scleroderma)
Intercostal space
เปรียบเทียบความกว้าง-ตึง ของช่องซี่โครงโดยใช้นิ้วกลางคลำในช่องซี่โครงตั้งแต่ช่องที่ 1 - 9 โดยเปรียบเทียบทั้งสองข้าง
กว้าง = มีสารเหลว ลม เลือด ที่เยื่อหุ้มปอดเช่น
แคบ = ปอดมีขนาดเล็กพบใน Atelectasis, Fibrosis
การเคลื่อนไหว
การหายใจ
-
-หายใจเข้า ช่องอกขยาย กระดูกหน้าอกยกตัวสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงเคลื่อนตัวลง กระบังลมหดตัว
-หายใจออก ช่องอกขยาย กระดูกน้าอกยกตัวสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้น กระบังลมคลายตัว
ความผิดปกติของการหายใจ
-การหายใจเร็ว (Tachypnea)
-หายใจช้า (Bradypnea)
-การหายใจลึก (Hyperpnea)
-การหายใจตื้นและหยุด
(Cheyne–Stroke respiration)
-การหายใจลึกและถอนหายใจอย่างสม่ำเสมอ
(Kussmaul respiration)
-การหายใจใกล้สิ้นใจ (Air hunger)
การตรวจหัวใจ
การดู
หลอดเลือดดำบริเวณทรวงอก หายใจเร็วหอบ อ่อนเพลีย สีผิวซีด มักเกิดร่วมกับอาการบวมกดบุ๋ม(Pitting edema) อาจพบ Spider nervi Apex แรงกว่าปกติมีHypertrophyที่เวนตริเคิลซ้าย
การฟัง
-aortic valve ฟังได้ชัดที่ขอบขวาของ sternum rib2
-pulmonic valve ฟังได้ชัดที่ขอบซ้ายของ sternum rib2
-tricuspid valve ฟังได้ชัดที่ขอบว้ายของ sternum 4 or 5
-mitral valve ฟังชัดที่บริเวณ apex beat
ต้องได้ยินเสียงหัวใจอย่างน้อยสองเสียง คือ s1 และs2 การได้ยินเสียงฟู่ (Murmur) แสดงถึงลิ้นหัวใจผิดปกติ
Systolic murmur เสียงที่เกิดระหว่าง s1 และ s2
Diastolic murmur เสียงที่เกิดระหว่าง s2 และ s1
Continuous murmur เสียงที่ได้ยิน ทั้งใน Systole และ Diastole
การคลำ
-Apex beat การเต้นของหัวใจ บริเวณ intercostal space 5
-Heave เพื่อยืนยันภาวะหัวใจโต วางฝ่ามือบริเวณหัวใจห้องล่างซ้าย สัมผัสแรงกระทบ
-Thrill ความสั่นสะเทือนจากความผิดปกติของการไหลเวียนเลือดในหัวใจ
การเคาะ
เคาะหาขอบเขตของหัวใจ เคาะที่ทรวงอกซ้ายจาก mid clavicular -v' rib 3,4,5 เคลื่อนเข้าหา sternum จนได้ยินเสียงทึบคือริมซ้ายของหัวใจ
การคลำ
คลำการขยายตัวของทรวงอก
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง วางฝ่ามือทั้งสองทาบทรวงอก ให้นิ้วหัวแม่มือวางทอดขนานไปกับซี่โครงส่วนนอก ฝ่ามือทาบให้แน่นกับทรวงอก ใช้นิ้วหัวแม่มือดันผิวหนังหรือจีบอยู่ระหว่างกับกระดูกสันหลัง สังเกตการขยายของฝ่ามือและการเคลื่อนที่ออกจากจุดกลึ่งกลางของนิ้วหัวแม่มือ ถ้ามือเคลื่อนจากจุดกลางน้อยลง แสดงว่ามีพยาธิสภาพเกิดขึ้นที่ปอด
คลำการสั่นสะเทือน
ตรวจการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากเสียงพูดส่งผ่านจากปอดมาผนังทรวงอก จะคลำจากบนลงล่างและคลำให้ทั่วปอด สังเกตความสั่นสะเทือนที่นิ้วมือที่วาง ว่าทรวงอกทั้งสองข้างสั่นสะเทือนเท่ากันหรือไม่
ปกติจะได้ยินเสียงสั่นสะเทือนทั้งสองข้างเท่ากับ หากผิดปกติ การสั่นสะเทือนจะลดลงพบในผู้ที่มี Pleural effusion
การคลำหลอดลม
ให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่งหรือนอนหันหน้าตรง ผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วชี้แยงไปบน Suprasternal notchทีละข้าง ถ้าหลอดลมอยู่ปลายนิ้วจะคลำได้เนื้อเยื่อนุ่มๆทั้งสองข้าง ถ้าเนื้อปอดแฟบหลอดลมจะเอียงไปทางด้านนั้น ถ้ามีของเหลวในช่องปอด หลอดลมจะเอียงไปด้านตรงข้าม
การเคาะ
-
ลักษณะเสียงเคาะ
ได้ยินเสียงเคาะ Resonance ทั่วทั้งปอด
Flatness - เสียงทึบมีน้ำในปอด
Dullness - ทึบน้อยกว่า Flatness พบในผู้ป่วยปอดบวม
Tympany - มีลมในช่องปอด
Hyper-resonance ถุงลมโป่งพอง
การฟัง
เสียงหายใจ
ใช้ Stethoscope ด้าน Diaphragm ฟังปอดทั้งสองข้างในระดับเดียวกัน
- Bronchial breath sound เสียงแหลม เข้าสั้น ออกยาว
-Bronchovesicular breath sound เสียงผสม เข้าออกยาวเท่ากัน
-Vesicular breath sound เข้ายาว ออกสั้น
เสียงผิดปกติ
-Stridor เสียงใหญ่ เกิดจากการบวมของกล่องเสียง
-Rhonchi เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมใหญ่ตีบแคบการหดเกร็งของหลอดลม
-Crepitation เกิดจากน้ำในหลอดลมฝอยทำให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก
-Wheezing เสียงนกหวีด เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมขนาดเล็กที่ตีบแคบ
-
-
-
-
-
-
-
-