Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหอบหืด (ปัจจัยเสี่ยง/ปัจจัยกระตุ้น (โรคประจำตัว, ประวัติหอบเฉียบพลันในแ…
โรคหอบหืด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก พบ wheezing ใช้แรงในการหายใจเพิ่มขึ้น
ไอเรื้อรัง
หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว เหงื่ออกมาก อ่อนเพลีย
มีอาการนานๆครั้ง 1-2 ครั้ง/เดือน ทำกิจวัตรต่างๆไม่หอบเหนื่อย สภาพปอดปกติ ถือว่าควบคุมอาการได้
อาการหอบหืดเรื้อรัง มีการใช้ยาช่วยบรรเทาอาการ > 2 ครั้ง/สัปดาห์ ถือว่าควบคุมได้บ้าง
หอบเฉียบพลันเกือบทุกสัปดาห์ คุมอาการไม่ได้ โดยเฉพาะช่วง อายุครรภ์ 29-36 สัปดาห์
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคหอบหืด
มารดา : เสี่ยงหลุดหายใจ เสียชีวิตได้
ทารก : Preterm labor ,DFIU ,Abortion เสี่ยงขาด O2 IUGR Anomaly LBW
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติเกี่ยวกับโรคหอบหืด การรักษาและยาที่ได้รับ
แนะนำพบแพทย์เพื่อพิจารณายารักษาที่เหมาะสมขณะตั้งครรภ์
แนะนำอาหารโปรตีนสูง
ระวังสารก่อภูมิแพ้
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำอาการผิดปกติที่่ควรพบแพทย์ ได้แก่ มีเลือด/น้ำคร่ำทางช่องคลอด มดลูกหดรัดตัวแรง/ถี่ ทารกดิ้นน้อย ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว ขา-เท้า บวม
ติดตาม FHR UC NST ขนาดของมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์
กรณีมีอาการหอบหืด
จัดศีรษะสูง หรือฟุบโต๊ะคร่อมเตียง
สอนการหายใจ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ O2 cannula 3-5 L/min
ให้ยาขยายหลอดลม และABO
จิบน้ำ
ประเมินลักษณะการหายใจ Pulse Cyanosis การไอ ฟังปอด V/S
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ประเมิน UC ,FHR ,การดิ้นของทารก
ระยะเจ็บครรภ์
จัดนอนศีรษะสูง
ประเมินความก้าวหน้าการคลอด FHR V/S
Pain management
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับยา corticosteroid ทางหลอดเลือดดำในระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด และให้ต่อจน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ระวังการให้ยา prostaglandin E1 (cytotec) หรือ E2 ในการชักนำให้เกิดการคลอด
เตรียมอุปกรณ์ และยาให้พร้อมสำหรับช่วยเหลือผู้คลอด
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
ระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ปัจจัยเสี่ยง/ปัจจัยกระตุ้น
โรคประจำตัว
ประวัติหอบเฉียบพลันในแต่ละครั้ง ความถี่ห่างของการเกิดอาการ
ญาติสายตรงเป็นหอบหืด
โรคอ้วน
รับสารก่อภูมิแพ้
ยาทำให้หลอดลมหดเกร็ง เช่น NSAID
อารมณ์ปรวนแปร เครียด กังวล กรดไหลย้อน