Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมและพัฒนาการเด็ก (นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก …
การส่งเสริมและพัฒนาการเด็ก
มโนทัศน์การพยาบาลเด็ก
การพยาบาลเด็ก หมายถึง การวินิจฉัยและแก้ไข ปัญหาสุขภาพของเด็กจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมภาวะสุขภาพของเด็กให้ดีที่สุด
ความแตกต่างระหว่างเด็กและผู้ใหญ่เด็กและผู้ใหญ่มีความแตกต่างกันอยู่ 4 ด้าน
ด้านลักษณะโครงสร้างและกายวิภาค
ขนาดและรูปร่าง
กระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกทรวงอก
หูรูดของกระเพาะอาหารส่วนบนปิดไม่สนิท
ด้านสรีรวิทยา
ค่าปกติของส่วนประกอบของเลือด
ค่าสัญญาณชีพ
การทำหน้าที่ของไตยังไม่สมบูรณ์
สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
การจัดสิ่งแวดล้อมทั้งกายภาพชีวภาพและสังคม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวัน
การสร้างเสริมสุขภาพชุมชนให้แข็มแข็ง
รับรู้และเชื่อ
การสร้างเสริมพลังอำนาจ
การพัฒนาทักษะส่นบุคคล
เป็นการเสริมสร้างพลังอำนาจในการจัดการเปลี่ยนแปลง
การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
จิต
กาย
สังคม
สิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีใหม่ทางการแพทย์
การใช้กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยเด็ก
1 การประเมินปัญหา
1 การวินิจฉัยการพยาบาล
1การวางแผนการปฏิบัติ
4 การปฏิบัติการพยาบาล
5 การประเมินผล
บทบาทของพยาบาลเด็กในปัจจุบันพยาบาลเด็กมีบทบาทที่ขยายออกไปดังนี้ในปัจจุบัน
1 บทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาลโดยตรง
2 การให้สุขศึกษา
3การปกป้องเด็ก
.4 การจัดการเกี่ยวกับเด็กเป็นรายกรณี
2.4 การจัดการเกี่ยวกับเด็กเป็นรายกรณี
องค์การอนามัยโลก
สุขภาพ= สุขภาวะ
ภาวะที่มีความสมบูรณ์แข็งแรง ของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ และการอยู่อย่างเป็นสุขในสังคม
การส่งเสริมสุขภาพ
หมายถึง กระบวนการที่ทำให้ประชาชนมีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมและปรับปรุงภาวะสุขภาพของตนเอง
สุขภาพเป้าหมายการสร้างเสรี
สุขภาพที่เพิ่มขึ้น
คนสามารถควบคุมสุขภาพได้ด้วยตนเอง
กฎบัตรออตาวาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
1.การสร้างนโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ
2.การสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
การสร้างเสริมกิจกรรมชุมชนเข้มแข็ง
การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ
ผล
กระทบ
ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า มีสุขภาวะ
ผลลัพธ์
ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพมีความสามารถในการดูแลตนเอง
ผลผลิต
กระบวนการส่งเสริมสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน
สอดคล้องกับวิถีคนไทย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550 -2554)
น้อมนำปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ. 2555 -2559)
น้อมนำปรัชญา....“เศรษฐกิจพอเพียง”
เป็นแนวทางการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวม
“คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่12
ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ปรัชญานำทาง“ เศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาพพอเพียง” 7 ประการ
ยืดทางสายกลาง
มีความสมดุลพอดี
รู้จักพอประมาณ
การมีเหตุผล
มีระบบภูมิคุ้มกัน
รู้เท่าทันโลก
มีคุณธรรม จริยธรรม
นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก Fact of Life โดย UNICEF & WHO & UNESCO
1.เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตรอด
2.แม่ควรเว้นการมีบุตรอย่างน้อย 2 ปี
หญิงตั้งครรภ์ต้องการอาหาร
เด็กควรได้รับการดูแลสุขภาพ
ให้นมแม่อย่างเดียวใน 6เดือนแรก
เด็กแรกเกิด 6ปี ควรได้รับการตรวจสุขภาพ
เด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนตามกำหนด
เด็กที่เกิดภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรงจากการถ่ายเหลว ให้สารละลายน้ำตาลเกลือแร่
ไม่ประมาทเมื่อเด็กเป็นหวัด สังเกตอาการหายใจเร็ว หอบเหนื่อย
10.ไม่ควรให้ยุงกัด
11.ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคเอดส์
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กสิทธิเด็กขั้นพื้นฐาน ที่สำคัญ 4ประการคือ
สิทธิที่จะมีชีวิตอยู่รอด
สิทธิในการชีวิตอยู่รอดและส่งเสริมชีวิต
ได้รับบริการด้านสุขภาพ
สิทธิที่จะได้รับการพัฒนารอบด้าน
การคุ้มครองจากการเลือกปฏิบัติ
การล่วงละเมิด การทำร้าย การกลั่นแกล้ง รังแก
สิทธิที่ได้รับการปกป้องคุ้มครอง
ได้รับการศึกษาทั้งในและนอกระบบ
เข้าถึงข่าวสารที่เหมาะสม
สิทธิการมีส่วนร่วม
แสดงทัศนะของเด็ก
มีเสรีภาพในการติดต่อข่าวสารข้อมูล
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก
ส่งเสริมให้บิดามารดาเป็นต้นแบบชีวิตที่ดีของเด็ก
สร้างความเข้าใจให้บิดาเลี้ยงดูบุตรอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็ก
พัฒนาคุณภาพงานบริการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับครอบครัว
ส่งเสริมให้บิดามารดาดูแลสุขภาพของเด็กอย่างเต็มความสามารถ
บทบาทครอบครัวแนวคิดการดูแลเด็กโดยที่ใช้ครอบครัวเป็นหลัก
เอื้ออำนวยและประสานความร่วมมือกับพ่อแม่
แลกเปลี่ยนและร่วมมือกับพ่อแม่ในการดูแลสุขภาพ
กระตุ้นและเอื้อให้มีเครือข่ายครอบครัว
สร้างความเข้าใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก